. ในเว็บเพจนั้นมีเพียง 3 ชนิด ซึ่งเว็บบราวเซอร์ส่วน ใหญ่จะสนับสนุนฟอร์แมตของรูปภาพ GIF, JPG, PNG.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 8 การใช้รูปภาพ และการออกแบบกราฟฟิกสำหรับเว็บ
Advertisements

ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
นักศึกษาทุกคน วิชา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์
สวัสดีครับ. สวัสดีครับ รายวิชา ง40204 คอมพิวเตอร์เสริม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6.
Chapter 3 : Still Image (ภาพนิ่ง)
Chapter 6 : Video.
บทที่ 5 การปรับแต่งสไลด์ด้วยภาพ
การแปลงขนาดไฟล์รูปภาพ เทคนิคสำคัญ!!!
หน่วยการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีสร้างสรรค์
….E-Book สนุกสนาน…..
วิชาสื่อ ประสม ง แบบทดสอบกลางภาค
การเปรียบเทียบ Tablet
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
กราฟิกสำหรับเว็บไซต์
องค์ประกอบ Graphic.
การสืบค้นแหล่งเรียนรู้จากอินเตอร์เน็ต
Chapter 4 : Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
Welcome.
แหล่งรวมรูปภาพสำหรับงานกราฟิกและงานออกแบบ
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
การกำหนดขนาดของรูปภาพ การใช้รูปภาพเป็น Background
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
รูปแบบ Story Board อย่างง่าย
คุณสมบัติของซอฟท์แวร์ SCADA
การสร้างภาพเคลื่อนไหว
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
บทที่ 9 การใส่รูปภาพ (Image).
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
คู่มือสร้างบล็อก blog.spu.ac.th
ต้อนรับเข้าสู่โลกของภาษา Java
VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer นางสาวฐิติภา จีนหลง.
โปรแกรม SwishMAX.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เบื้องต้น
Computer Graphics Image Processing 1.
บทที่ 2 ประเภทของงานกราฟิกส์
การแทรกรูปภาพ บนเว็บเพจ.
แบบสอบถาม (Questionnaires)
Principle of Graphic Design
รู้จักกับชนิดของภาพกราฟิกบนเว็บ
Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
Pretest.
บทที่ 2 เริ่มต้นใช้งาน Flash
การสมัครและการใช้งาน
สื่อการเรียนการสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
การเพิ่มลูกเล่นให้กับเว็บเพจ
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ซอฟต์แวร์ที่สนใจ Adobe ImageReady.
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
กิจกรรมคอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS3.
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
3D MAX ซอฟท์แวร์ที่สนใจ น.ส.กมลชนก ดาวแดน เลขประจำตัวนิสิต
ประเภทของไฟล์เสียงเสียง
นางสาวขวัญชนก ขจรภพ รหัสนิสิต กลุ่ม B06 คณะพยาบาลศาสตร์
หน่วยที่ 8 การตกแต่งภาพถ่าย
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
เสริมเว็บให้ดูสวย.
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
โครงการจัดทำข้อมูลผ่านเว็บไซต์
การเปรียบเทียบ Tablet
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ในเว็บเพจนั้นมีเพียง 3 ชนิด ซึ่งเว็บบราวเซอร์ส่วน ใหญ่จะสนับสนุนฟอร์แมตของรูปภาพ GIF, JPG, PNG

อ่านว่า จิ๊ฟ หรือ กิ๊ฟ มีนามสกุลเป็น *.gif ไฟล์บิตแมตชนิด นี้ เป็นไฟล์ชนิดบีบอัดข้อมูล สามารถแสดงสีได้สูงสุดเพียง 256 สี เหมาะสำหรับใช้จัดเก็บภาพการ์ตูน หัวข้อเรื่อง ที่มีความละเอียด ของสีสันน้อยแสดงผลได้เร็ว รวมทั้งสนับสนุนการแสดง ภาพเคลื่อนไหวได้ ทำให้เป็นภาพชนิดพื้นโปร่งใส (Transparency) จึงมีความน่าสนใจมากขึ้น มีความสามารถในการแสดงผลแบบ หยาบ และค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียด (Interlace)

อ่านว่า เจ - เพ็ก มีนามสกุลเป็น *.jpg เป็นไฟล์ชนิดบีบอัดข้อมูลที่ มีขนาดเล็กมาก และแสดงสีได้สูงสุดถึง 16.7 ล้านสี ทำให้ภาพมีความ คมชัดสูง เนื่องจากไฟล์ชนิดนี้ผ่านการบีบอัดข้อมูลมาก จึงใช้เวลาใน การคลายภาพกลับมาเพื่อแสดงผลนานกว่าไฟล์ GIF มีระบบการแสดง ภาพแบบหยาบแล้วค่อยๆ ละเอียดชัดเจนขึ้นแบบ Progressive มีจุดอ่อน ที่ไม่สามารถทำพื้นโปร่งใสได้ จึงควรเลือกใช้ให้เหมาะสม ดังนั้นจึงนิยมนำไฟล์ JPG ไปใช้ในการ แสดงผลรูปภาพที่มีขนาด ใหญ่ มีความละเอียดใน ภาพสูง เช่น ภาพคน ภาพอาคารสถานที่ ภาพทิวทัศน์ และจะใช้ไฟล์ GIF กับรูปภาพที่มี ขนาดเล็ก โดยส่วน ใหญ่แล้วไฟล์ GIF สามารถโหลดมาแสดง ผลได้รวดเร็วกว่าไฟล์ JPG ด้วยกลวิธีของระบบอิเล็กทรอนิกส์ดาวน์ โหลด

อ่านว่า ปิง เป็นไฟล์ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาแทนไฟล์ GIF และ ไฟล์ JPG ซึ่งเป็นการดึงเอาคุณสมบัติเด่นๆ ของไฟล์ทั้งสองรูปแบบ มาใช้งาน เช่น สนับสนุนจำนวนสีได้มากเหมือนภาพ JPEG แต่การ แสดงผลแบบหยาบไปละเอียดเลือกใช้แบบ Interlace เหมือนภาพ GIF ทำพื้นโปร่งใสได้ด้วย แสดงผลได้อย่างรวดเร็ว ในปัจจุบันได้มี การนำเข้ามาแทนที่รูปภาพชนิด JPEG และ Gif แล้ว โปรแกรม ตกแต่งภาพหลายค่ายก็สนับสนุนการเปิดและบันทึกไฟล์สกุลนี้ ใน ระบบปฏิบัติการที่มีพื้นฐานจาก Unix เช่น Linux, Mac OSX จะใช้ ภาพสกุลนี้เป็นหลักในการบันทึกภาพจากซอฟท์แวร์ต่างๆ