การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Funny with Action Script
Advertisements

การใส่ลูกเล่นให้กับงานนำเสนอ
Dreamweaver Adobe การสร้างโฮมเพจด้วย โปรแกรม 4 โดย.. ไชยยงค์ กงศรี
นักศึกษาทุกคน วิชา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์
XNA Basic.
HTML Language ภาษา HTML คืออะไร ? HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้ในการพัฒนา web page เพื่อให้โปรแกรม web brower ต่างๆ (Internet Explorer,
โดย... ฮัมดัน มะเซ็ง ฝ่ายซ่อมบำรุงรักษาและพัฒนาเครื่องมือ
วิชาสื่อ ประสม ง แบบทดสอบกลางภาค
การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
โครงการ การสร้างสื่อผลิต MV ( Music Video )
การพัฒนาเว็บไซต์ คณะวิทยาศาสตร์
โดยการใช้ Layer และ Timeline
เลือกภาพที่จะทำการตัด
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
เรื่อง การประยุกต์ใช้ : โปสการ์ด/กรอบรูป
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
Chapter 4 : Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
The automated web application testing (AWAT) system
Creating Effective Web Pages
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การใช้งาน Search Gmail.
การสร้างภาพเคลื่อนไหว
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูป
โปรแกรม DeskTopAuthor
โปรแกรม SwishMAX.
ง30216 การสร้างเกมคอมพิวเตอร์
การดำเนินการกลุ่มที่ 1 ง การสร้างเกม คอมพิวเตอร์
บทที่ 8 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ
การใช้โปรแกรม ACDSee สร้าง Flash อย่างง่ายๆ
Principle of Graphic Design
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
วาดเส้นและรูปทรงต่าง ๆ วาดเส้นและรูปทรงต่าง ๆ
รูปจักกับซิมโบลและอินสแตนซ์ รูปจักกับซิมโบลและอินสแตนซ์
Symbol ชนิด Button Symbol ชนิด Button.
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
1. การเขียนโปรแกรมภาษา PHP เบื้องต้น
Sukunya munjit..detudom.  เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผล กลางระดับ Intel Pentium 800 MHz หรือ สูงกว่า  ระบบปฏิบัติการ Windows 2000 หรือสูง กว่า.
Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
Symbol & Instance.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างภาพเคลื่อนไหว
ประเภทของแอนิเมชั่นใน Flash
บทที่ 2 เริ่มต้นใช้งาน Flash
บทที่ 8 การสร้างวัตถุเคลื่อนไหวโดย Bone Tool
พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม Flash CS3
CorelDRAW 12.
การเพิ่มลูกเล่นให้กับเว็บเพจ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
ความหมายของแอนิเมชัน
กิจกรรมคอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS3.
การใช้โปรแกรม powerpoint
BSRU Animation STUDIOS
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Symbol ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ครูผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร.
โดยใช้โปรแกรม Macromedia flash 8
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การใช้เครื่องมือ (Tool Box)
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
1. เปิดเอกสาร Flash เลือกเมนู File -> New แล้วเลือก Flash File (ActionScript 2.0) 2. ไปที่เมนู Insert -> New Symbol 3. ที่หน้าต่าง Create New Symbol -
Macromedia flash 8.
บทที่ 9 แอนิเมชั่น Animation อ.ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล
Karaoke (flash). 1. เข้าโปรแกรม Flash สร้าง Layer Sound พร้อมกับ Insert Frame ( ประมาณเฟรม 25 เพื่อจะได้เห็นเส้นเสียง )
Macromedia Flash 8 สุรีย์ นามบุตร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วย Macromedia Flash เบื้องต้น (BASIC) หน่วยเทคโนโลยีสารสนเทศ งานนโยบายและแผน และประกันคุณภาพนักศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Credit by http://www.adobe.com/

งานที่ต้องสร้างด้วยโปรแกรม FLASH งานแอนิเมชั่น (Animation) เกมส์ (Game) พรีเซนเตชั่น (Presentation) อินเตอร์เฟส (interface) เว็บไซต์ (Web Site)

ส่วนประกอบของโปรแกรม Macromedia Flash 8

ระบบไฟล์โปรแกรม Macromedia Flash 8 1.ไฟล์ต้นฉบับ - เป็น ไฟล์เอกสารที่มีส่วนขยาย (Extension) เป็น .FLA ซึ่งสามารถนำมาปรับปรุงและแก้ไขได้ (edit / update) 2. ไฟล์ที่สร้างเพื่อออกไปใช้งาน (Publish & Export) - เป็นไฟล์เอกสารที่จะนำไปใช้งานไม่สามารถปรับปรุงหรือแก้ไขได้ ซึ่งมีส่วนขยาย (Extension) เป็น .SWF ,.GIF,.JPEG,.MOV,.EXE ฯลฯ

รู้จักกับ ซิมโบล (symbol) และอินสแตนซ์ (instance) เวลาเราทำงาน ไม่ว่าจะเป็นงานทางด้าน Cartoon Animation หรือ งานทางด้าน Multimedia ชิ้นงานของเราที่วาดขึ้นมาจากโปรแกรม Flash ชิ้นงานมันมากขึ้น มากขึ้นและมีการใช้ซ้ำๆ กัน อาทิเช่น ต้นไม้ ใบหญ้า ดวงดาว อะไรทำนองนี้ การทำสำเนา (Copy and Paste) มันคงไม่สนุกแน่ เพราะจะทำให้ไฟล์ของเรามันใหญ่โดยใช่เหตุ ทางออกของเราก็คือการสร้างภาพกราฟิกนั้นๆ ให้เป็นซิมโบล (Symbol)

รู้จักกับ ซิมโบล (symbol) และอินสแตนซ์ (instance) คือสำเนาของ ซิมโบล ซึ่ง 1 ซิมโบลสามารถมีได้หลายๆ อินสแตนซ์ เพื่อลดจำนวนขนาดของไฟล์ ซิมโบล

เครื่องมือวาดการ์ตูนจาก Macromedia flash MX 1. Arrow Tool ใช้ในการคลิกเลือกและลาก 2. Line Tool ใช้ในการวาดเส้นตรง 3. Text Tool ใช้สำหรับสร้างตัวอักษร 4. Oval Tool ใช้ในการวาดวงกลม 5. Pencil Tool ใช้สำหรับวาดเส้น 6. Color Bucket Tool ใช้สำหรับเทสี 7. Eraser Tool ใช้สำหรับลบ

การสร้างภาพเคลื่อนไหว ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เป็นการนำภาพนิ่งมาเรียงต่อกันและเปลี่ยนภาพในความเร็วที่เหมาะสม ซึ่งรูปแบบการสร้างภาพเคลื่อนไหวใน Flash มีอยู่ 3 แบบ แบบ Frame by Frame แบบ Motion Tween แบบ Shape Tween

การสร้างภาพเคลื่อนไหว แบบ Frame by Frame เป็นการทำภาพเคลื่อนไหวโดยการเปลี่ยนภาพ และมีรูปที่อยู่บน Frame แต่ละ Frame ที่ไม่เหมือนกัน

การสร้างภาพเคลื่อนไหว 2. แบบ Motion Tween เป็นการทำให้วัตถุเคลื่อนที่หรือเคลื่อนไหวโดยการกำหนด Frame เริ่มต้นและ Frame สุดท้ายในการเคลื่อนไหว

การสร้างภาพเคลื่อนไหว 3. แบบ Shape Tween เป็นการทำให้วัตถุเคลื่อนที่หรือเคลื่อนไหวโดยการกำหนด เปลี่ยนรูปทรงจากรูปหนึ่งไปอีกรูปหนึ่ง

เสียงใน Flash ประเภทเสียงใน Flash 1. Sound Loop เป็นเสียงดนตรีหรือทำนองเพลงที่เล่นวนซ้ำไปเรื่อยๆ 2. Sound Effect เป็นเสียงประกอบสั้นๆ เช่นเสียงปืน เสียงกริ่ง เป็นต้น

เสียงใน Flash Sync ของเสียง เป็นรูปแบบการทำงานของเสียงว่าจะให้เล่นแบบไหน 1. Event คือเสียงจะเล่นจนจบ โดยไม่สนใจ Time line และสามารถ เล่นซ้อนทับเสียงตัวเองได้ 2. Start คือเสียงจะเล่นจนจบโดยไม่สนใจว่า Time Line จะมีแค่ไหน 3. Stream คือเสียงจะเล่นตาม Time Line เป็นหลักและเล่นจบพร้อมกัน 4. Stop คือหยุดการเล่นเสียงทั้งหมด

การใช้งาน Action Script Action Script เป็นชุดคำสั่งซึ่งมีลักษณะคล้ายๆ กับการเขียนโปรแกรมเพื่อใช้ในการใช้งานต่างๆ ตามที่เราต้องการ ซึ่งการเขียน Action Script นั้นสามารถทำได้ 2 รูปแบบ 1.Normal Mode 2. Expert Mode