นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
Advertisements

นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.

นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน วิชาการบัญชีห้างหุ้นส่วนโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ STAD ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาเครื่องกลไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้น ปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการ สอน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
ผู้วิจัย นางระเบียบ คุณากร วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
นางสาวถนอมนวล ฐาปนพงษ์ไพบูลย์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลการสร้างประโยค Wh-Questions โดยใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาระดับประกาศวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด.
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ เรื่อง การบันทึกรายการซื้อขายสินค้าในสมุดรายวันทั่วไป โดยวิธี ใช้แบบฝึก ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นักศึกษาขาดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในด้านการจำแนกสาร และสมบัติของสาร นักศึกษาไม่สามารถจำแนกชนิด ของสารได้ นักศึกษาไม่สามารถบอกสมบัติของ สารชนิดต่างๆได้
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์ ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนจากการใช้สื่อ E-book วิชาการบัญชีชั้นสูง 1 เรื่อง การฝากขาย ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน จัดทำโดย นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน

ปัญหาการวิจัย จากการสังเกต ของผู้สอนพบว่า นักศึกษาไม่ชอบที่จะเรียน การบัญชีชั้นสูงเพราะมีเนื้อหามากและยากที่จะเข้าใจ เพื่อให้นักศึกษา มีความสนใจในการเรียนและบันทึกบัญชีได้อย่างถูกต้องตามหลัก การบัญชีที่รับรองทั่วไป ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องหาวิธีแก้ไขปัญหาดังกล่าว นั่น คือการนำสื่อการสอนมาประยุกต์และปรับให้เหมาะสมกับการสอน เพื่อให้นักศึกษาสนใจการเรียนและบันทึกบัญชีได้ถูกต้องตามหลักการ บัญชีที่รับรองทั่วไป ผู้สอนจึงจัดทำสื่อการเรียนการสอนขึ้น คือ E-book วิชาการบัญชีชั้นสูง 1 เรื่อง การฝากขาย  

วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้สื่อ E-book วิชาการบัญชีชั้นสูง 1 เรื่องการฝากขาย ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี

ระเบียบวิธีวิจัย ประชากร : นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน จำนวน 71 คน กลุ่มตัวอย่าง : นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน ห้อง กบ201 รอบบ่ายกลุ่ม 1 จำนวน 45 คน ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย : 1. ตัวแปรต้น คือ สื่อการสอน E-book การบัญชีชั้นสูง 1 เรื่อง การฝากขาย 2. ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีชั้นสูง เรื่องการฝากขาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย : 1. สื่อการสอน E-book วิชาการบัญชีชั้นสูง เรื่อง การฝากขาย 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 20 ข้อ

ประสิทธิภาพของ E-book การวิเคราะห์ข้อมูล ตาราง 1 ประสิทธิภาพของการพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสอน E-book เรื่อง การฝากขาย คะแนน คะแนนระหว่างเรียน E1 คะแนนหลังเรียน E2 ประสิทธิภาพของ E-book คะแนนเต็ม 40 10 ค่าเฉลี่ย 32.02 8.69 80.06/86.89 ร้อยละของค่าเฉลี่ย 80.06 86.89 จากตารางวิเคราะห์ พบว่า ผลการหาประสิทธิภาพ E1 และ E2 ของสื่อการสอน E-book วิชาการบัญชีชั้นสูง 1 เรื่อง การฝากขาย สำหรับนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 คะแนนแบบฝึกระหว่างเรียน มีค่าเท่ากับ 80.06 และคะแนนหลังเรียนมีค่า เท่ากับ 86.89 นั่นแสดงว่าสื่อ E-book มีประสิทธิภาพมากกว่า 80/80

การวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) ตาราง 2 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียนด้วยสื่อการสอน E-book เรื่อง การฝากขาย คะแนนสอบ N SD. t Sig. ก่อนเรียน 45 6.16 1.507 26.003 .000 หลังเรียน 16.07 2.093 จากตารางวิเคราะห์ แสดงว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน นั่นหมายถึงนักศึกษาที่เรียนโดยใช้สื่อ E-book วิชาการบัญชีชั้นสูง 1 เรื่องการฝากขาย ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

สรุปผลการวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ก่อนเรียน และหลังการใช้สื่อ E-book วิชาการบัญชีชั้นสูง 1 เรื่อง การฝากขาย ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี โดยการใช้ พบว่า นักศึกษาที่เรียนโดยใช้สื่อ E-book หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และค่า S.D. หลังเรียนมีค่าสูงกว่าก่อนเรียน แสดงว่าหลังจากเรียนโดยใช้สื่อ E-book นักศึกษามีคะแนนสูงขึ้น การที่ได้ผลการศึกษาเช่นนี้ อาจเนื่องมาจากการเรียนโดยใช้สื่อ E-book ซึ่งเป็นสื่อการเรียนรู้แบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพสำหรับนักศึกษากลุ่มตัวอย่าง จึงทำให้นักศึกษามีความสนใจที่จะเรียนด้วยสื่อชนิดนี้ อีกทั้งโดยใช้สื่อ E-book ใช้แทนคำบรรยายทำให้นักศึกษาไม่เสียเวลาและเบื่อหน่ายการอ่านเนื้อหา เสริมสร้างบรรยากาศในการเรียนให้มีความผ่อนคลายสามารถจดจำเนื้อหาได้ดีกว่าและนักเรียนที่เรียนโดยใช้สื่อ E-book มีการตรวจสอบความรู้อยู่เสมอจากการทำแบบทดสอบท้ายกิจกรรม ซึ่งจัดเป็นแบบทดสอบย่อย เพื่อหาข้อบกพร่องของตนเองและเรียนรู้ที่จะแก้ไขข้อบกพร่องนั้น ช่วยให้นักศึกษาสามารถทบทวนความรู้เดิมก่อนไปเรียนเนื้อหา