การตรวจสอบการความสามารถ ในการกันเสียงของวัสดุต่างๆ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สีของผ้าที่ทำให้เหงื่อตกได้
Advertisements

พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ความหมายของโครงงาน.
เรื่อง อินเตอร์เน็ตของวัยรุ่น
แขนกลในงานอุตสาหกรรม Industrial Robotic Arm
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
ดนตรีไทยวงเครื่องสายบนโทรศัพท์มือถือ Siam String Musical on Mobile
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การทำทบทวนวรรณกรรมหรือวรรณกรรมปริทัศน์
ซอฟต์แวร์ควบคุมหุ่นยนต์อย่างง่าย A Simplified Robot Controlling Software นายจักรี วิญญาณ นายนฤนารถ อออิงทรัพย์
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
ผู้ดำเนินโครงการ นายมนชิต วชิรพรพงศา รหัสนักศึกษา
เครื่องตรวจวัด และเตือนภัยระดับน้ำ ด้วย Image Processing
และการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การออกแบบเครื่องใช้ภายในบ้าน
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
Smart Media Card.
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ไมโครโฟน (Microphone)
การวางแผนและการดำเนินงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
The automated web application testing (AWAT) system
โครงงานสุขภาพ การทดลองผงซักฟอก.
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลการขนส่งน้ำมันกรณีศึกษาบริษัทแสงชัยโชค.
การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ
ศึกษาโครงงานพิเศษ (Study Project) 1/2557
การจัดกระทำข้อมูล.
ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. ตัวแปรต้น 2. ตัวแปรตาม 3. ตัวแปรควบคุม การกำหนดและควบคุมตัวแปร.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
โปรแกรมคำนวณค่าไซน์ (Sine)
โปรแกรมการคำนวณพื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉาก
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 20.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
ข้อมูลและสารสนเทศ.
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
กระบวนการวิจัย Process of Research
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
ความหมายของวิทยาศาสตร์
มหัศจรรย์ ... กระดาษแสนกล
อบรมคณะกรรมการ ตสน. ระดับกลุ่มเครือข่าย
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
ซ่อมเสียง.
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
กิจกรรมชุดที่ 10 รู้จักแรงเสียดทาน.
เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)
ตุ๊กตามหัศจรรย์ Magic doll
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
16. การเขียนรายงานการวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจสอบการความสามารถ ในการกันเสียงของวัสดุต่างๆ

จัดทำโดย อาจารย์ที่ปรึกษา นาย ชานน โตโพธิ์ไทย ม.4/1 เลขที่ 5 นาย ศรัณภัทร์ ภูริวัฒน์ ม.4/1 เลขที่16 นาย กรพัชร เพ็ชรพรประภาส ม.4/1 เลขที่ 23 อาจารย์ที่ปรึกษา อ.วีรวัฒน์ หนองห้าง อ.ฐากูร ดุรงค์ภินนท์

ที่มาและความสำคัญ(1) ในปัจจุบันประเทศไทยถือเป็นประเทศที่มี การพัฒนาในด้านต่างๆไม่ว่าจะเป็นในด้านการขนส่ง อุตสาหกรรม ด้านเทคโนโลยี รวมถึงด้านอื่นๆอีกมากมาย อย่างรวดเร็วตามกระแสโลกาภิวัฒน์ซึ่งปัญหาที่ตามมาก็ คือ “มลภาวะทางเสียง”ซึ่งเป็นปัญหาที่จะเกิดตามมากับ การพัฒนาสิ่งต่างๆเหล่านั้นไม่ว่าจะเป็นมลภาวะทางเสียง จาก การขนส่ง การก่อสร้างอุตสาหกรรมรวมไปถึงกลุ่ม คนซึ่งนับเป็นปัญหาที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ----- Meeting Notes (12/24/12 15:16) ----- ไทยมีการพัฒนาด้านอุสาหกรรม

ที่มาและความสำคัญ(2) จากปัญหาข้างต้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงต้องการที่ จะศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติในการกันเสียงของวัสดุ ต่างๆที่หาได้โดยทั่วไปเพื่อที่จะเป็นข้อมูลในการ เปรียบเทียบคุณสมบัติการกันเสียงและซับเสียงของ วัสดุเหล่านั้นเพื่อเป็นแนวทางเลือกและข้อมูลแก่ บุคคลที่ต้องการจะศึกษาเพื่อนำไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อไป

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาว่าวัสดุชนิดใดมีคุณสมบัติในการ กันเสียงได้ดีที่สุด ในช่วงความยาวคลื่นที่ต่างกัน วัสดุใดกัน เสียงได้ดีกว่ากัน ----- Meeting Notes (12/24/12 15:44) ----- ยังเขียน ไม่ดี ควรมีข้อเดียว ในช่วงความยาวคลื่นที่ทต่างกัน เพื่อ ศิกษาไร ช่วย เปรียบเทียบสมบัติในความยาวคลื่นที่ต่างกัน

ตัวแปลที่เกี่ยวข้อง ตัวแปรต้น วัสดุที่นำมาทดลอง ตัวแปรต้น วัสดุที่นำมาทดลอง ตัวแปรตาม ค่าความเข้มของเสียงที่ออกมา ตัวแปรควบคุม ความเข้มของเสียงจากลำโพง, เสียงที่ใช้ความหนาของวัสดุที่ทดลอง

ขอบเขตการศึกษา ศึกษาวิธีในการตรวจสอบการกันเสียงของวัสดุ ต่างๆโดยการใช้เครื่องวัดเสียง(Sound Level Meter)ที่แสดงหน่วยเป็น(db) ศึกษาชนิดของวัสดุที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงค่า ความเข้มของเสียง

วัสดุและอุปกรณ์(1) 1.เครื่องวัดความเข้มของเสียง 2.ลำโพง

วัสดุและอุปกรณ์(2) 3.แอมป์ 4.เครื่องเล่นซีดี

วัสดุและอุปกรณ์(3) 5.กล่องผ้า 6.โฟม

วัสดุและอุปกรณ์(4) 8.ผ้าอัด 7.กระดาษแข็ง

วัสดุและอุปกรณ์(5) 9.ใยสังเคราะห์ 10.เสียง(ความถี่500Hz,1000Hz)

ทำไม ต้องใช้เสียง ความถี่ 500 Hz และ 1000 Hz ???? ----- Meeting Notes (12/24/12 15:16) ----- เสียง เบส หาsorce ไม่เจอ แหลมหา ที่มาได้ดีกว่า เบส ย้าย ที่ได้เหมือนดูหนัง

วิธีการดำเนินการ(1) 1.ตัดวัสดุที่นำมาทดลองให้มีขนาดเท่ากัน

วิธีการดำเนินการ(2) 2.บุวัสดุที่ตัดมาในตอนแรกลงกล่อง

วิธีการดำเนินการ(3) 3.นำกล่องที่บุด้วยวัสดุที่ใช้มาครอบลงบนลำโพงโดยที่ตัว กล่องและลำโพงจะมีขนาดเท่ากันในเรื่องของความกว้าง ความยาว ความสูง

วิธีการดำเนินการ(4) 4.เปิดเสียงที่จากแอป์เข้าลำโพงโดยใช้เสียงที่ระดับความถี่ 500Hz ,1000Hzตามลำดับ

วิธีการดำเนินการ(5) 5.อ่านค่าที่ได้จากเครื่องวัดความเข้มของเสียง(Sound Level Meter)โดยมีหน่วยเป็นเดซิเบล(db)

วิธีการดำเนินการ(6) 6.เปลี่ยนวัสดุที่ใช้บุและทำเหมือนเดิม

สรุปวิธีการดำเนินการ ตัดวัสดุที่จะนำมาบุให้เท่ากัน บุวัสดุลงกล่อง เปลี่ยนวัสดุ นำกล่องที่บุเสร็จครอบลำโพง เปิดเสียง อ่านค่าความเข้มเสียงที่ได้

ประสิทธิภาพในการกันเสียง ผลการทดลอง ชนิดของวัสดุที่บุ ระดับความดัง (เสียงที่ได้ยินจากหู) (500Hz)(db) (1000Hz)(db) ประสิทธิภาพในการกันเสียง กล่องเปล่า(ยังไม่ได้บุ) ยังชัดเจน 64.02 52.26 5 กระดาษแข็ง เบาลงมาก 62.86 44.62 4 ผ้าอัด ดังน้อยกว่ากระดาษแข็ง 60.25 46.83 2 ใยสังเคระห์ ปานกลาง 61.54 47.69 3 โฟม เบาสุด 53.51 50.60 1

กราฟแสดงผลการทดลอง 1 5 Control

สรุปผลการทดลอง จากผลการทดลองที่ได้จะเห็นได้ว่าวัสดุที่นำมาใช้ล้วนมีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงค่าความเข้มของเสียงทั้งสิ้น โดยจากผลการทดลองที่ได้จะเห็นได้ว่า โฟมเป็นวัสดุที่สามารถกันเสียงได้ดี ทั้งคลื่นความถี่ 500Hz และ 1000 Hz สุดรองมาก็เป็น กระดาษแข็ง , ผ้าอัด , ใย สังเคราะห์ตามลำดับ

เอกสารอ้างอิง ผศ. .ปรียา อนุพงษ์องอาจ.2547.จ.กรุงเทพมหานคร.เสียง.(ออนไลน์). แหล่งที่มา:http://www.rsu.ac.th/science/physics/pom/physics_2//sound/sound_ 1.htm.13มกราคม2547 ประเจียด ปฐมภาค.2550.จ.กรุงเทพมหานคร.การสั่นและคลื่นเสียง.(ออนไลน์). แหล่งที่มา:http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/89/sound.html. 21 มีนาคม2550