วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัสพิชากร JARUSPICHAKORN COLLEGE OF TECHNOLOGY

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
Advertisements

นางเจริญสุข ผ่องภักดี
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เรื่อง พัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส นักเรียนระดับ ปวช.1
ผู้วิจัย นางบุปผา แย้มชุติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นางสาวทัศนา จันทะเรือง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นางสาวอาภรณ์ เทียนทอง สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพิมพ์ดีดไทย 1 โดยใช้แบบฝึกกลุ่มคำสั้น ๆ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 โดย นางสุกัญญา พลรัตนมงคล.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
นางสาวถนอมนวล ฐาปนพงษ์ไพบูลย์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การใช้ชุดฝึกทักษะ การบันทึก รายการเกี่ยวกับสินค้า ใน สมุดรายวันเฉพาะ วิชาบัญชีเบื้องต้น 2 สำหรับนักเรียนชั้นประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีนีรชาบริหารธุรกิจ วิจัยการเรียนการสอน
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลการสร้างประโยค Wh-Questions โดยใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาระดับประกาศวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด.
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ เรื่อง การบันทึกรายการซื้อขายสินค้าในสมุดรายวันทั่วไป โดยวิธี ใช้แบบฝึก ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
อริส ขวัญเสียงเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
เทคโนโลยีสื่อประสมสอน ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ นายชูชีพ ขาวเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีนีร ชาบริหารธุรกิจ.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการวิเคราะห์รายการค้าในวิชาบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 กลุ่ม.
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัสพิชากร JARUSPICHAKORN COLLEGE OF TECHNOLOGY ผู้วิจัย : นางสาวนาตยา แดงเหมือน การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีกับคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัสพิชากร จังหวัดนครศรีธรรมราชที่ได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการวิเคราะห์รายการค้า งานวิจัยเรื่อง : สังกัด : วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัสพิชากร จังหวัดนครศรีธรรมราช 256/16 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80000 โทร. 0 753 22666–7 Fax. 0 753 20338 WWW.JPV.AC.TH E-Mail jpv@jpv.ac.th

:: ปัญหาการวิจัย จากผลของการจัดการเรียน การสอนวิชาการบัญชีกับคอมพิวเตอร์พบว่านักเรียนไม่สามารถจำแนกได้ว่าอะไรเป็นสินค้าประเภทซื้อมา ขายไป อะไรเป็นรายการขายสินค้า หรือรายการค่าใช้จ่าย ซึ่งผู้เรียนไม่สามารถวิเคราะห์รายการค้าได้ ทำให้ผู้เรียนไม่สามารถบันทึกรายการค้าในใบเสร็จรับเงินและโปรแกรมได้ ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำไม่สามารถพัฒนาการเรียนรู้ จึงต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ที่นำมาใช้ในการสอน โดยใช้แบบฝึกทักษะซึ่งมีลำดับขั้นตอนในการฝึกทักษะด้านการวิเคราะห์รายการค้า

:: ปัญหาการวิจัย(ต่อ) การนำแบบฝึกทักษะมาใช้ในการวิเคราะห์รายการค้าผู้วิจัยคาดว่าจะช่วยให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นเนื่องจากแบบฝึกทักษะเป็นนวัตกรรมหนึ่งที่ช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ ฝึกความชำนาญ ความแม่นยำ ความชัดเจน และตลอดจนศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองมากขึ้น ซึ่งเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด วิเคราะห์รายการค้าได้ด้วยตัวเอง ดังนั้นเมื่อนำแบบฝึกทักษะการวิเคราะห์รายการค้ามาใช้จึงน่าจะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนเพื่อนำไปสู่การพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

:: วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีกับคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนในระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัสพิชากร จังหวัดนครศรีธรรมราช ก่อนและหลังได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการวิเคราะห์รายการค้า 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีกับคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนในระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัสพิชากร จังหวัดนครศรีธรรมราช หลังได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการวิเคราะห์รายการค้า กับเกณฑ์คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 60

:: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นรายบุคคล การวิเคราะห์ข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคลโดยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีกับคอมพิวเตอร์ของนักเรียนหลังได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการวิเคราะห์รายการค้ากับเกณฑ์คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 60 ปรากฏผลดังตาราง

คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน :: ตารางวิเคราะห์ข้อมูลเป็นรายบุคคล(ต่อ) เลขที่ ชื่อ - นามสกุล คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คะแนนก่อนสอน คะแนนหลังสอน 1 นางสาวณัฐมล พลหาญ 8 16 2 นางสาวรุสนา อิสลาม 9 3 นางสาวพัทรนันท์ ลักขณา 7 18 4 นางสาวกรรณิกา กวีพันธ์ 10 19 5 นางสาวธนภรณ์ บุตรรักษ์ 15 6 นางสาวอมรรัตน์ ยุทธิวัฒน์ 17 นางสาวธัญญารัตน์ มานพพงศ์ 11 นางสาวจารุวรรณ เนินทอง นางสาวอรวรรณ เนาว์สุวรรณ นางสาวอริสา วังสันต์

สอนโดยใช้แบบฝึกทักษะ การวิเคราะห์รายการค้า ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน :: ตารางผลการวิเคราะห์ข้อมูล เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีกับคอมพิวเตอร์ของนักเรียนหลังได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการวิเคราะห์รายการค้ากับคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 60 สอนโดยใช้แบบฝึกทักษะ การวิเคราะห์รายการค้า จำนวน (n) ค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) t ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังสอน 10 77.58 13.63 7.63* เกณฑ์คะแนนเฉลี่ยร้อยละ   60 *มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

:: ตารางผลการวิเคราะห์ข้อมูล(ต่อ) จากตาราง พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีกับคอมพิวเตอร์ของนักเรียนหลังได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการวิเคราะห์รายการค้าแตกต่างจากเกณฑ์คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 60 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีกับคอมพิวเตอร์ของนักเรียนหลังได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการวิเคราะห์รายการค้าสูงกว่าเกณฑ์คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 60

:: สรุปผลการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีกับคอมพิวเตอร์ของนักเรียน หลังได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการวิเคราะห์รายการค้า สูงกว่าก่อนได้รับการสอนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลสัมฤทธิ์ทาการเรียนวิชาการบัญชีกับคอมพิวเตอร์ของนักเรียน หลังได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการวิเคราะห์รายการค้าสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 60 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05