ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
Advertisements

กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
ระบบสารสนเทศ.
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ความหมายของการวางแผน
Information Systems in the Enterprise
Information System.
ประเภทของระบบสารสนเทศในองค์กร
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
เรื่อง ประเภทของสาระสนเทศ 3.ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS)
สุนีย์ พงษ์พินิจภิญโญ
รายวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
คำถาม กระทรวงใหม่ที่ดูแลทางด้าน IT ชื่อกระทรวงอะไร?
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14
ลักษณะระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System)
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
พัฒนาการการนำระบบสารสนเทศมาใช้ สำหรับงานทรัพยากรมนุษย์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การเงิน.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
การจัดการสารสนเทศและ ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ MIS Management Information System
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
Information Technology
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
บทที่ 3 Planning.
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
(Transaction Processing Systems)
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การบริหารและกระบวนการวางแผน
อรพินท์ สอนไว
ฐานข้อมูล Data Base.
การบริหารงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงบประมาณ
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดการฐานข้อมูล.
ระบบสารสนเทศ เพื่อการสื่อสาร
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
Information Technology : IT
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ(Information Systems)
โรงเรียนเทคโนโลยีภูเขียว
ระบบสารสนเทศย่อยทางธุรกิจ Business Information systems
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
Assessment and Evaluation System
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Planning & Strategic Management)
1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซึ่งร่วมกันทำกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวัง ผลตอบแทนเป็นกำไรและการลงทุน 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร (Management Information System)

ความหมายของ ระบบ MIS ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System) หรือ MIS คือระบบที่ให้สารสนเทศที่ผู้บริหารต้องการ เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะรวมทั้ง สารสนเทศภายในและภายนอก สารสนเทศที่เกี่ยวพันกับองค์กรทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวมทั้งสิ่งที่คาดว่าจะเป็นในอนาคต ระบบเอ็มไอเอสจะต้อง ให้สารสนเทศ ในช่วงเวลาที่เป็นประโยชน์ เพื่อให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในการวางแผนการควบคุม และการปฏิบัติการขององค์กรได้อย่างถูกต้อง 

สารสนเทศช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ช่วยให้ผู้บริหารมองเห็นปัญหาและโอกาสได้เร็วขึ้น ช่วยให้ผู้บริหารมีเวลาสำหรับการวางแผนได้มากขึ้น ช่วยให้ผู้บริหารใช้เวลาในการพิจารณาปัญหาที่มีความซับซ้อนได้มากขึ้น ช่วยให้ผู้บริหารควบคุมการดำเนินงานได้ดีขึ้น

การตอบสนองของระบบสารสนเทศ กับผู้บริหารในองค์กร ระดับสูง EIS DSS MIS ผู้บริหารระดับกลาง TPS ผู้บริหารระดับปฏิบัติการ พนักงานประจำภายในองค์กร

การนำไปใช้งานสามารถแบ่งได้ 4 ระดับ ดังนี้ การนำไปใช้งานสามารถแบ่งได้ 4 ระดับ ดังนี้ 1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในการวางแผนนโยบาย กลยุทธ์ และการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง  2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในส่วนยุทธวิธีในการวางแผนการปฏิบัติและการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลาง  3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในระดับปฏิบัติการและการควบคุมในขั้นตอนนี้ผู้บริหารระดับล่างจะเป็นผู้ใช้สารสนเทศเพื่อช่วยในการปฏิบัติงาน  4. ระบบสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล 

ลักษณะของระบบ MIS ระบบMIS  จะสนับสนุนการทำงานของระบบประมวลผลข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลรายวัน         ระบบMIS จะใช้ฐานข้อมูลที่ถูกรวมเข้าด้วยกัน และสนับสนุนการทำงานของฝ่ายต่าง ๆ ในองค์กร         ระบบMIS จะช่วยให้ผู้บริหารระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง เรียกใช้ข้อมูลที่เป็นโครงสร้างได้ตามเวลาที่ต้องการ         ระบบMIS จะมีความยืดหยุ่นและสามารถรองรับความต้องการข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงไปขององค์กร         ระบบMIS ต้องมีระบบรักษาความลับของข้อมูล และจำกัดการใช้งานของบุคลเฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น 

กระบวนการทำงานของ MIS MIS มีการประสานงานที่ดี กับ ระบบอื่นภายในองค์กร รวมถึง การเข้าใจถึงสภาพแวดล้อมภายนอกองค์กรแล้ว จะเห็นว่า MIS มีส่วนสำคัญในการช่วยให้องค์กร บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้โดยช่วยจัดเตรียม สารสนเทศ ที่ถูกต้อง เป็นประโยชน์ ซึ่งถือได้ว่า เป็น ทรัพยากรที่มีมูลค่ามากที่สุด แก่ ผู้ใช้ หรือ ผู้บริหารองค์กร ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ - การวางแผนกลยุทธ์ ( Strategic Planning ) - การควบคุมการบริหาร ( Management Control ) - การควบคุมด้านปฏิบัติการ ( Operational Control )

ระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคล 1. ในระดับกลยุทธ์ ช่วยในการวางแผนกำหนดความต้องการด้าน กำลังคนในระยะยาว 2 . ในระดับกลวิธี ช่วยให้ผู้บริหารสามารถตรวจสอบและวิเคราะห์ การว่าจ้างบุคลากร การจัดสรรตำแหน่งงาน และการชดเชยค่าจ้างแก่บุคลากรได้ 3. ในระดับปฏิบัติการ ช่วยติดตามความก้าวหน้าในการว่าจ้าง การฝึกอบรม และการโอนย้ายหรือเลื่อนของบุคลากรในองค์กร

ระบบสารสนเทศในงานผลิต 1. ในระดับกลยุทธ์ ช่วยในการวางแผนกำหนดความต้องการด้านกำลังคนในระยะยาว เช่น จะตั้งโรงงานใหม่หรือจะลงทุนใช้เทคโนโลยีอะไรใหม่ 2. ในระดับกลวิธี ช่วยในการวางแผนทรัพยากรการผลิต 3. ในระดับปฏิบัติการ ช่วยในการสนับสนุนการทำงานในการ ผลิต เช่น ในการควบคุมการผลิต การบำรุงรักษาเครื่องมืออุปกรณ์

ส่วนประกอบของ MIS ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems : TPS) ระบบการจัดการรายงาน (Management Reporting System : MRS)  ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support system : DSS)  ระบบสารสนเทศสำนักงาน (Office Information Systems) (OIS)  

ตัวอย่างขององค์กรที่ใช้ระบบ MIS ในองค์กร CMU-MIS ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ CMU-MIS จะประกอบด้วย     ระบบงานบุคคล     ระบบงานนักศึกษา     ระบบงานหลักสูตรและแผนการศึกษา     ระบบงานวิจัย     ระบบงานอาคารสถานที่และสาธารณูปโภค     ระบบงานวิเทศสัมพันธ์     ระบบงานงานการคลังและพัสดุ

สรุป MIS เป็นระบบที่สร้างสารสนเทศขึ้นมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจ ประสานงาน และการควบคุม โดยใช้ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ได้แก่ฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ และผู้ใช้ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ เพื่อการดำเนินการจัดการ ตัดสินใจ เพื่อให้ได้งานที่ มีประสิทธิภาพ ที่รวมสารสนเทศจากภายในและภายนอก อดีต ปัจจุบันและอนาคต

END