วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
Advertisements

เรื่อง การรักษาและคุ้มครองผู้บริโภค
กิจกรรม อย.น้อย โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
หน่วยเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
นายจิรชัย มูลทองโร่ย รองเลขาธิการ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
สื่อเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระจากโฆษณา
ระบบการบริหารการตลาด
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การค้ามนุษย์.
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มตรวจสอบ ติดตาม ด้านยา วัตถุเสพติด และ เครื่องมือแพทย์ ( ตส.1 ) สำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข.
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
การระดมความ คิดเห็น ภาคประชาชน แรงงาน และ ผู้บริโภค.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การประเมินความเสี่ยงและการ คุ้มครองผู้บริโภคด้านเครื่องสำอาง โดย เภสัชกรหญิงวีรวรรณ แตงแก้ว ผู้อำนวยการกองควบคุมเครื่องสำอาง.
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
การพัฒนาระบบงานคุ้มครองผู้บริโภค
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การเลือกบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
ใครเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พระราชบัญญัติเครื่องสำอางบ้าง?
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การเลือกซื้อสินค้า.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
บทที่ 17 อิทธิพลของสถานการณ์
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
(Supplier-Input-Process-Output-Customer : SIPOC)
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
นายวิเชียร มีสม วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนที่ 3 สอนโดย นายวิเชียร มีสม 1 เรื่อง สุขภาพผู้บริโภค เรื่อง.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ครูศรีวรรณ ปานสง่า สิทธิและ การคุ้มครองผู้บริโภค ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
หน้าที่ทางการตลาด Marketing Function
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 1 การวางแผนดูแลสุขภาพของ บุคคลในชุมชนและสังคม.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102 หน่วยการเรียนที่3 เรื่อง สุขภาพผู้บริโภค สอนโดย นายวิเชียร มีสม

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง บอกนโยบายการคุ้มครอง- ผู้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง บอกนโยบายการคุ้มครอง- ผู้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในปัจจุบัน

ผู้ใช้ผลิตภัณฑ์หรือผู้ใช้บริการ สินค้าใช้ส่วนตัวหรือครอบครัว 3 ผู้บริโภค ผู้ใช้ผลิตภัณฑ์หรือผู้ใช้บริการ สินค้าใช้ส่วนตัวหรือครอบครัว ผลิตภัณฑ์ สินค้าที่ผู้ประกอบการผลิตหรือ จัดหาเพื่อสนองความต้องการ

สิ่งที่จับต้องได้ เป็นรูปธรรม การบริการ 4 สินค้า สิ่งที่จับต้องได้ เป็นรูปธรรม การบริการ สิ่งที่จับต้องไม่ได้ เป็นนามธรรม กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบด้านคุ้มครองผู้บริโภค

แนวทางการป้องกันสิทธิผู้บริโภค ความเข้มแข็งของชุมชน เพื่อ 5 แนวทางการป้องกันสิทธิผู้บริโภค ความเข้มแข็งของชุมชน เพื่อ พัฒนาและแก้ปัญหา จุดเน้นของรัฐบาลและหน่วยงาน เพื่อรวมพลังประชาชนทุกระดับ

- เครือข่ายองค์กรพัฒนาชุมชน - เครือข่ายผู้นำเยาวชน 6 - เครือข่ายชาวบ้าน - เครือข่ายองค์กรพัฒนาชุมชน - เครือข่ายผู้นำเยาวชน - เครือข่ายชมรมต่างๆ - เครือข่ายนักวิชาการ

เป็นแหล่งผลิตให้สังคม รวมทั้งด้านสุขภาพด้วย 7 กระบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม เป็นแหล่งผลิตให้สังคม รวมทั้งด้านสุขภาพด้วย

8

ข้อควรปฏิบัติหลังจากซื้อสินค้าหรือบริการ 9 ข้อควรปฏิบัติหลังจากซื้อสินค้าหรือบริการ 1. ผู้บริโภคต้องตรวจดูฉลากของสินค้า เพื่อเป็นข้อมูลในการเปรียบเทียบสินค้า แต่ละยี่ห้อ ก่อนตัดสินใจเลือกสินค้า 2. สอบถามข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ คุณภาพของสินค้าจากผู้ขาย หรือผู้ที่เคยใช้สินค้านั้นแล้ว

เช่น วัน เดือน ปี ที่ผลิตหรือหมดอายุ 10 3. ศึกษาเงื่อนไข หรือข้อจำกัดของสินค้า เช่น วัน เดือน ปี ที่ผลิตหรือหมดอายุ วิธีการใช้ การเก็บรักษา คำเตือนหรือ ข้อควรระวังของสินค้า 4. ร้องขอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตรวจสอบคุณภาพ 5. ผู้บริโภคอย่าด่วนหลงเชื่อคำโฆษณา

สิทธิของผู้ บริโภคตามกฎหมาย 5 ประการ สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้ง 11 สิทธิของผู้ บริโภคตามกฎหมาย 5 ประการ สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้ง คำพรรณนาคุณภาพที่ถูกต้องและ เพียงพอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ 2. สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้า หรือบริการ

3. สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการ 12 3. สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการ ใช้สินค้าหรือบริการ 4. สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมใน การทำสัญญา 5. สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและ ชดเชยความเสียหาย ตามข้อ 1, 2, 3 และ 4 ดังกล่าว

การคุ้มครองผู้บริโภค 13 คณะกรรมการชุมชนและ การคุ้มครองผู้บริโภค - ชมรมผู้สูงอายุ - ชมรมการออกกำลังกาย - ชมรมกีฬา - ชมรมแม่บ้าน - ชมรมเยาวชน ฯลฯ นายวิเชียร มีสม

การคุ้มครองผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 14 การคุ้มครองผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ผู้บริโภครับ - ความปลอดภัย - ความเป็นธรรม - ความประหยัด นายวิเชียร มีสม

1. ควบคุมการผลิต การปรุง การประกอบ 2. ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ในตลาด 15 ความปลอดภัย 1. ควบคุมการผลิต การปรุง การประกอบ 2. ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ในตลาด 3. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ แก่ประชาชน

4. มีสัญลักษณ์รับรองความสะอาด ปลอดภัย ของสถานที่ ปรุงจำหน่าย 16 4. มีสัญลักษณ์รับรองความสะอาด ปลอดภัย ของสถานที่ ปรุงจำหน่าย

ด้านความเป็นธรรม 1. ควบคุมมาตรฐานสินค้า 2. ควบคุมด้านการโฆษณา 17 ด้านความเป็นธรรม 1. ควบคุมมาตรฐานสินค้า 2. ควบคุมด้านการโฆษณา 3. ควบคุมคุณภาพ ไม่เอารัดเอาเปรียบ

1. การให้การศึกษาแก่ประชาชน 2. ปลูกฝังลักษณะนิสัยกับนักเรียน 18 ด้านการประหยัด 1. การให้การศึกษาแก่ประชาชน 2. ปลูกฝังลักษณะนิสัยกับนักเรียน 3. กระตุ้นให้ประชาชนตื่นตัว

19 แม่บ้าน องค์กรหมู่บ้าน ร้านค้า/สถานบริการ เจ้าหน้าที่รัฐ

1. มีความรู้ สามารถเลือกผลิตภัณฑ์ อาหาร ยา เครื่องสำอาง สารเคมี 20 แม่บ้าน 1. มีความรู้ สามารถเลือกผลิตภัณฑ์ อาหาร ยา เครื่องสำอาง สารเคมี 2. เป็นผู้นำสมาชิก 3. ได้รับข่าวสารองค์กรหมู่บ้าน

ร้านค้าและสถานบริการ 1. มีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ 21 ร้านค้าและสถานบริการ 1. มีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ ไม่เป็นอันตราย 2. มีจิตสำนึกให้ความเป็นธรรม 3. ได้รับข่าวสารองค์กรอย่างต่อเนื่อง

1. มีความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค 2. กระจายข่าวสารถูกต้องไปยัง 22 องค์กรหมู่บ้าน 1. มีความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค 2. กระจายข่าวสารถูกต้องไปยัง แม่บ้านและประชาชน 3. รับฟังข้อมูลร้องทุกข์จากประชาชน นายวิเชียร มีสม

บทบาทหน้าที่ของประชาชน ในชุมชนในการปกป้องสิทธิ 23 บทบาทหน้าที่ของประชาชน ในชุมชนในการปกป้องสิทธิ (พ.ร.บ. คุมครองผู้บริโภค พ.ศ.2522 มาตรา 4) นายวิเชียร มีสม

24 ใบงาน ปัจจัยของการเจริญของร่างกาย