IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ ส่งเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศชุมชน
Advertisements

การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
Personal Data eXchange
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การจัดการองค์ความรู้ การจัดการความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศูนย์สารสนเทศ.
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
สหกรณ์การเกษตรสามง่าม จำกัด
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
แผนการพัฒนางานประปีงบประมาณ 2553
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
แผนยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๕๘
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
สรุปการประชุม เขต 10.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
สารสนเทศกับการพัฒนางาน โรงพยาบาล
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
บริการ ICT ที่เป็นเลิศและเข้าถึงได้
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
Back Office: หัวใจของระบบทั้งหมดในโรงพยาบาล
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
Information Technology : IT
แผนปฏิรูปงานสำนักงาน เศรษฐกิจการคลัง การพัฒนา ทรัพยากร บุคคล การสร้าง ความเชื่อมั่น และความรู้ ความเข้าใจ ในเชิงรุก การปฏิรูป ระบบงาน และ IT และ IT สศค.
ประสบการณ์รพศ.อุดรธานี ในการเตรียมรับการประเมิน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การวางแผนยุทธศาสตร์.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
ทิศทางการพัฒนาคุณภาพคณะกรรมการสารสนเทศ 14 ตุลาคม 2554.
4.1 (ก) การวัดผลการดำเนินการ การเลือก จากการจัดทำแผนกลยุทธ์ ของหมวด 2.1ก (1) ผู้บริหารระดับสูงได้กำหนดตัวชี้วัดหลักของศูนย์ศรีพัฒน์ฯ เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์/เป้าหมาย.
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
Assessment and Evaluation System
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. ดำเนินการตามระเบียบการเงิน / การคลังที่เกี่ยวข้อง 2. ดำเนินการแล้ว เสร็จตามเวลาและ มีระบบป้องกันการสูญหาย 3. การป้องกันการคลาดเคลื่อนจาก การรับ - จ่ายเงินสด.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้

ระบบสารสนเทศ (Information System ) บริบท : รวบรวม จัดเก็บ จัดการ วิเคราะห์ข้อมูลระดับหน่วยงานเพื่อใช้ในการวางแผน ประเมินผล และติดตามผลการดำเนินงานในระดับหน่วยงาน และองค์กร เป้าหมาย : ข้อมูลมีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา เป็นปัจจุบัน และนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพองค์กร

องค์ประกอบของ IM รับข้อมูล ประมวลผล แสดงผล 1. ฮาร์ดแวร์ 2. ซอฟต์แวร์ 3. บุคลากร 4. ข้อมูล แสดงผล

การวัดผลงาน กลุ่มตัวชี้วัดที่มี alignment ทั่วทั้งองค์กร: ด้านที่ 1 ผลลัพธ์ด้านการดูแลผู้ป่วย (19 ตชว.) ด้านที่ 2 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นของผู้ป่วยและผู้รับผลงานอื่น (4 ตชว.) ด้านที่ 3 ผลลัพธ์ด้านการเงิน (3 ตชว.) ด้านที่ 4 ผลลัพธ์ด้านบุคลากรและระบบงาน(5 ตชว.) ด้านที่ 5 ผลลัพธ์ด้านระบบงานและกระบวนการสำคัญ (13 ตชว.) ด้านที่ 6 ผลลัพธ์ด้านธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม ด้านที่ 7 ผลลัพธ์ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ (6 ตชว.) รวม 54 ตัวชี้วัดหลัก 7 ตัวชี้วัดย่อย

ด้านที่ 1 ผลลัพธ์ด้านการดูแลผู้ป่วย (19 ตชว.)

ด้านที่ 2 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นของผู้ป่วยและผู้รับผลงานอื่น (4 ตชว.)

ด้านที่ 3 ผลลัพธ์ด้านการเงิน (3 ตชว.)

การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการเชื่อมข้อมูล ด้านการให้บริการผู้ป่วย ระบบการเชื่อมโยงผลการให้บริการ Lab กับโปรแกรมการให้บริการผู้ป่วย HosXp ผ่านโปรแกรม LIS ระบบการเชื่อมโยงผล X-Ray, EKG กับโปรแกรมการ ให้บริการผู้ป่วย HosXp ผ่านโปรแกรม PACK ระบบเชื่อมโยงการให้บริการ Lab ระหว่าง รพท.กาฬสินธุ์ กับ รพ.สต. ในเขต Cup เมือง-ดอนจาน

การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการเชื่อมข้อมูล ด้านการให้บริการผู้ป่วย ระบบเชื่อมโยงผล Lab ฐานข้อมูลผู้ป่วย ระบบเชื่อมโยง Pack ระบบสืบค้นข้อมูล โปรแกรม HOSXP ระบบเชื่องโยง Lab กับ รพ.สต.

การพัฒนาระบบสารสนเทศเกี่ยวกับงาน ด้านการสนับสนุนบริการ โปรแกรมจัดทำประวัติบุคลากรโรงพยาบาล โปรแกรมระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมการเบิกจ่ายวัสดุทางการแพทย์ หน่วยจ่ายกลาง

การพัฒนาระบบสารสนเทศเกี่ยวกับงาน ด้านการสนับสนุนบริการ โปรแกรมการบริหารความเสี่ยง Risk โปรแกรมจัดเก็บประวัติการฝึกอบรม เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล โปรแกรมระบบการขอข้อมูลสถิติ และรายงานข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย Intranet โปรแกรมจัดเก็บผลการปฏิบัติงาน P4p

ผู้ป่วย บุคลากร ผู้บริหาร ระบบ P4p ระบบงานพัสดุ/ครุภัณฑ์ ระบบบุคลากร ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบดัชนีชี้วัด ระบบ Lab Online แผนพัฒนาปีงบ 2557 ระบบบริหารความเสี่ยง RISK ระบบ E-Office ระบบ HosXP Process ผู้ป่วย Data MIS Data บุคลากร ผู้บริหาร Data แสดงภาพรวมสารสนเทศหลักเพื่อการจัดการ รพ.กาฬสินธุ์

แผนการพัฒนาด้าน Soft ware ปี 2556 การพัฒนาระบบ Scan เวชระเบียนผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน การพัฒนาระบบพิสูจน์ตัวต้นผู้ป่วยผ่านการ Scan ลายนิ้วมือหรือ ถ่ายรูปผู้ป่วยโดยเชื่อมโยงกับโปรแกรมการให้บริการผู้ป่วย การพัฒนาระบบสารสนเทศการจัดเก็บข้อมูลสถิติผ่านระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์/ดัชนีชี้วัด ระบบสารเทศงานพัสดุ/ครุภัณฑ์

ความพร้อมใช้ IT ในภาวะฉุกเฉิน ระบบ Backup คอมพิวเตอร์ Server ข้อมูลการให้บริการผู้ป่วย คือ 1. ระบบ Back Up Real time ตลอดเวลา 2. ระบบ Back Up Complete ระบบสำรองไฟโดยติดตั้งเครื่องสำรองไฟฟ้าและปรับแรงดันไฟฟ้า (UPS) สำหรับคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) จัดครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์สำรองสำหรับหน่วยที่ให้บริการผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ดูแลระบบคอมพิวเตอร์ให้สามารถใช้งานได้ต่อเนื่อง ๒๔ ชั่วโมง

ความปลอดภัยระบบสารสนเทศ กำหนดระดับ และกลุ่มการใช้งานในการเข้าถึงข้อมูลระบบสารสนเทศ การกำหนดสิทธิการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ Username : Password กำหนดกฎระเบียบการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ ตามพระราชบัญญัติว่า ด้วยการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550

ประเด็นปัญหา/สิ่งที่ต้องดำเนินการ

สิ่งที่ต้องดำเนินการ ประเด็นปัญหาสำคัญ สิ่งที่ต้องดำเนินการ ผลลัพธ์ ๑.การนำเอาผลลัพธ์จากการประเมินตัวชี้วัดองค์กรมาพัฒนาระบบงาน - หน่วยงานมีการนำเอาข้อมูลที่เป็นข้อมูลพื้นฐานด้านการดูแลผู้ป่วยมาวิเคราะห์ข้อมูลในระดับหน่วยงานเองแล้วนำมาใช้วางแผนการปฏิบัติงาน -หน่วยงานมีการนำเอาผลลัพธ์จากตัวชี้วัดองค์กรมาใช้ติดตามและพัฒนาระบบงาน แล้วนำมาใช้วางแผนการปฏิบัติงานต่อไป หน่วยงานมีการวิเคราะห์วางแผนการปฏิบัติงานระดับหน่วยงาน ดำเนินไปตามทิศทาง ยุทธศาสตร์สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ และเข็มมุ่งของโรงพยาบาล

สิ่งที่ต้องดำเนินการ ประเด็นปัญหาสำคัญ สิ่งที่ต้องดำเนินการ ผลลัพธ์ ๒.ความสอดคล้องของตัวชี้วัดระดับหน่วยงานกับตัวชี้วัดระดับองค์กร กำหนดผู้รับผิดชอบงานตามตัวชี้วัด เพื่อรวบรวม จัดเก็บ จัดการ วิเคราะห์ข้อมูลระดับหน่วยงานเพื่อนำข้อมูลมาใช้วางแผน ประเมินผล และติดตามผลการดำเนินงานในระดับหน่วยงาน และองค์กร หน่วยงานมีความสะดวกในการวางแผนปฏิบัติงาน เอื้อต่อการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์

สิ่งที่ต้องดำเนินการ ประเด็นปัญหาสำคัญ สิ่งที่ต้องดำเนินการ ผลลัพธ์ ๓.การสื่อสารเพื่อถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติ - มีการประชุมชี้แจงและมีการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กรสู่ระดับหน่วยงาน แล้วหน่วยงานมีการถ่ายทอดตัวชี้วัดสู่ผู้รับผิดชอบในหน่วยงานเพื่อให้เข้าใจในตัวชี้วัด สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ นำสู่การปฏิบัติได้อย่างมีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง หน่วยงานมีความเข้าใจในตัวชี้วัดที่ได้รับผิดชอบเพื่อนำสู่การปฏิบัติ