มาตรฐานและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

วิธีการสมัครสมาชิก UNOVUS
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
Dublin Core Metadata tiac. or
แนวทางการรายงานผลการปฏิบัติราชการโดยผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
ขอบเขตการสืบค้นข้อมูล
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
ภวัต เรืองยิ่ง แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล
แลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการตรวจสอบฐานข้อมูล
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
Use Case Diagram.
KM งานบริการยืม – คืน ครั้งที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
การจัดส่งข้อมูลตราสารหนี้ โดยช่องทาง Internet หรือ DMS DA (Extranet)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ RFID
บทที่ 8 ระบบบัญชีสินทรัพย์ถาวร
บรรณารักษชำนาญการพิเศษ
Patron Info Application
Patron Info Application
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
Patron Info Application
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
เครื่องยืมหนังสืออัตโนมัติด้วยตนเอง Self Check
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โครงสร้างทรัพยากรสารสนเทศ
งานวิชาการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
มาตรการควบคุมสินค้าและบริการควบคุม ปี 2554 รายการสินค้าและบริการควบคุม
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
เทคนิคการสืบค้น Google
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในงานศูนย์สนเทศภาคเหนือ
วิชา การบริหารระบบข้อมูลสำหรับโลจิสติกส์
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
E-Sarabun.
..เทคโนโลยีการใช้RFIDกับงานในห้องสมุด
การลงข้อมูลแผนการสอน
คำอธิบายรายวิชา 1.คำอธิบายรายวิชา (คัดจากเอกสารหลักสูตร)
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
การประชุมซักซ้อมการปฏิบัติงาน การเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส. ก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
1. ส่วนข้อมูลนำเข้า 2. ส่วนประมวลผลข้อมูล 3. ส่วนสารสนเทศ.
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
แผนการจัดการเรียนรู้
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
Acquisition Module.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรฐานและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ

MARC ความหมาย โครงสร้างระเบียนและรูปแบบการลงรายการ รูปแบบของวัสดุ (Format) ประเภทของระเบียนบรรณานุกรม โครงสร้างและลักษณะเนื้อหาของระเบียนบรรณานุกรม 1. ป้ายระเบียน (Reader) 2. นามานุกรมเขตข้อมูล (Directory) 3. ข้อมูล (Variable field)

MARC ประเภทของ Variable data field 1. Variable control field ตัวบ่งชี้ (Indicator) รหัสเขตข้อมูลย่อย (Subfield code)

Metadata ความหมาย การเกิดขึ้น วัตถุประสงค์การใช้

Metadata Dublin Core Metadata 1. TITLE (ชื่อเรื่อง) 2. AUTHOR OR CREATOR (ผู้แต่ง หรือ เจ้าของงาน) 3. SUBJECT OR KEYWORDS (หัวเรื่อง หรือ คำสำคัญ) 4. DESCRIPTION (ลักษณะ ) 5. PUBLISHER (สำนักพิมพ์ ) 6. CONTRIBUTORS (ผู้ร่วมงาน) 7. DATE( ปี)

Metadata Dublin Core Metadata 8. RESOURCE TYPE (ประเภท) 9. FORMAT (รูปแบบ) 10. RESOURCE IDENTIFIER (รหัส) 11. SOURCE (ต้นฉบับ) 12. LANGUAGE (ภาษา) 13. RELATION (เรื่องที่เกี่ยวข้อง) 14. COVERAGE (ขอบเขต) 15. RIGHT MANAGEMENT (สิทธิ)

Metadata Dublin Core Metadata กรณีศึกษา ศสท. สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม GILS

Metadata ปัญหาของแผนการจัดข้อมูล Metadata 1. มีจำนวนแผนมากเกินไป 2. ไม่มีแผนใดที่เหมาะสมกับทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมด 3. การใช้ศัพท์ของแต่และแผนแตกต่างกัน ทำให้เกิดความสับสน 4. การใช้เขตข้อมูล (field) มีความหมายแตกต่างกัน 5. บางแผนใช้คู่มือในการลงรายการสิ่งพิมพ์ของห้องสมุด แต่บางแผนใช้แยกประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ 6. มีความยืดหยุ่นน้อย ควรปรับปรุงให้เหมาะสมยิ่งขึ้น

Z39.50 Z39.50 หรือ ISO23950 เป็นมาตรฐานสากลสำหรับติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ เพื่อการสื่อสารข้อมูลทางด้านห้องสมุดและศูนย์สนเทศต่างๆ ซึ่งจะทำให้การแลกเปลี่ยนข้อมูล การใช้ข้อมูลร่วมกัน และการดำเนินงานทางด้านเอกสารอ้างอิง ข้อสนเทศต่างๆ เป็นไปอย่างรวดเร็ว

NCIP (NISO Circulation Interchange Protocol) มาตรฐานในการยืม-คืน ทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งจะทำหน้าที่ในการตรวจสอบข้อมูลในการยืม-คืน ทรัพยากรสารสนเทศ การระบุผู้ใช้ การระบุจำนวนการยืม รวมถึงการควบคุมการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศ นอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับการควบคุมและตรวจสอบการยืม-คืนระหว่างห้องสมุดด้วย มาตรฐานนี้ได้ถูกนำไปพัฒนาและใช้ในการยืมด้วยตนเองของบริษัทผู้จำหน่วยเครื่องยืมด้วยตนเอง ทำให้สามารถควบคุมการยืมด้วยตนเองได้

Barcode ประวัติความเป็นมา ความหมาย องค์ประกอบ มาตรฐานของบาร์โค้ด ส่วนประกอบของบาร์โค้ด 1. ส่วนลายเส้นซึ่งเป็นลายเส้นสีขาว (โปร่งใส) และสีดำ 2. ส่วนข้อมูลตัวอักษร 3. แถบว่าง (Quiet Zone)

Barcode 885 : 3 หลักแรก คือรหัสของประเทศไทย 885 : 3 หลักแรก คือรหัสของประเทศไทย 1234 : 4 ตัวถัดมา เป็นรหัสโรงงานที่ผลิต 56789 : 5 ตัวถัดมา เป็นรหัสสินค้า 8 : ตัวเลขหลักสุดท้ายเป็นตัวเลข ตรวจสอบ เลข 12 ข้างหน้าว่ากำหนด ถูกต้องหรือไม่

Barcode

Barcode ประเภทของบาร์โค้ด Smart Barcode Dumb Barcode ผู้ผลิต ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ผู้บริโภค

Barcode ความสำคัญของบาร์โค้ดกับงานห้องสมุด 1. บัตรประจำตัวสมาชิก (Patron/ User Card) 2. เลขประจำหนังสือ (Item Barcode)

Barcode เครื่องอ่านบาร์โค้ด Barcode Scanner

Barcode เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เทอร์มอลพรินเตอร์ ดอตเมตริกซ์ พรินเตอร์ เลเซอร์พรินเตอร์

2D Barcode เป็นบาร์โค้ดที่สามารถบรรจุข้อมูลได้ทั้งแนวตั้งและแนวนอน และบรรจุข้อมูลได้มากขึ้นถึง 4,000 ตัวอักษร มากกว่าบาร์โค้ดแบบ 1 มิติ ถึง 200 เท่า และสามารถอ่านได้หลายภาษา อาทิ อังกฤษ ญี่ปุ่น จีน และเกาหลี รวมทั้งอ่านและถอดรหัสบาร์โค้ดได้โดยใช้โทรศัพท์มือถือติดกล้องพีดีเอ และโน๊ตบุ๊คที่ติดตั้งโปรแกรมถอดรหัสไว้แล้ว

2D Barcode

2D Barcode http://www.dlsoft.com/downloads/Default.htm http://www.topshareware.com/010018-3-1.htm

RFID ความเป็นมา ความหมาย ส่วนประกอบ 1. ป้ายระบุข้อมูลของวัตถุ 2. เครื่องอ่านสัญญาณความถี่วิทยุ

RFID

RFID หลักการทำงานของ RFID

RFID RFID กับงานห้องสมุด 1. บริการรับคืนวัสดุสารสนเทศ

RFID RFID กับงานห้องสมุด 2. ระบบรักษาความปลอดภัยของวัสดุสารสนเทศ

RFID RFID กับงานห้องสมุด 3. เครื่องตรวจสอบชั้นวางวัสดุสารสนเทศ

RFID RFID กับงานห้องสมุด 4. เครื่องบริการยืม-คืน วัสดุสารสนเทศอัตโนมัติ

RFID RFID กับงานห้องสมุด 5. การสำรวจวัสดุสารสนเทศและการจัดชั้น

RFID ประโยชน์ของ RFID สำหรับงานห้องสมุด เพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการของห้องสมุดโดยรวม ลดปัญหาการเข้าแถวเพื่อยืม-คืน ผู้ใช้มีอิสระในการใช้บริการยืม-คืน ด้วยตนเอง ช่วยลดเวลาทำงานประจำของเจ้าหน้าที่ เวลาที่ใช้ในการสำรวจวัสดุสารสนเทศน้อยลงมาก

RFID หลักเกณฑ์ในการพิจารณา RFID สถาปัตยกรรมระบบ ป้ายระบุข้อมูลของวัตถุ ความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลของหน่วยความจำในชิพ ลักษณะการทำงานของป้าย ค่าใช้จ่ายในการจัดหาระบบ เครื่องอ่านข้อมูลจากป้าย (tag reader) มาตรฐาน

RFID ห้องสมุดที่มีการนำ RFID มาใช้ หอสมุดป๋วย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต หอสมุดมหาวิทยาลัยชินวัตร สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยทักษิณ http://www.rfid-library.com/ http://www.integratedtek.com/content/RFID.asp

Self Check

Self Check องค์ประกอบในการยืมด้วยเครื่องยืมด้วยตนเอง บัตรสมาชิกห้องสมุด ทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการยืม เครื่องยืมด้วยตนเอง http://vids.myspace.com/index.cfm?fuseaction=vids.individual&videoid=60880511

ประตูกันขโมย

แถบสัญญาณแม่เหล็ก เป็นอุปกรณ์ป้องกันทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด จะใช้ควบคู่กับประตูกันขโมย แถบลบสัญญาณแม่เหล็ก แถบเพิ่มสัญญาณแม่เหล็ก

เครื่องลบ-เพิ่ม สัญญาณแม่เหล็ก

The END