Multimedia Application Business Computer

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เซลล์และเวิร์กชีตและการจัดการกับเวิร์กชีต
Advertisements

บทที่ 3 การออกแบบระบบเนวิเกชัน
วิธีทำ พื้นหลัง แบบมิติแสง โปร่งใส
บทที่ 5 การปรับแต่งสไลด์ด้วยภาพ
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
พื้นที่ผิวและปริมาตร
วิชาสื่อ ประสม ง แบบทดสอบกลางภาค
เรื่อง การประยุกต์ใช้ : ลูกเล่นโฟโต้ช๊อป
การแทรกหัวข้อย่อยและเลขลำดับ
เรื่อง การประยุกต์ใช้ : โปสการ์ด/กรอบรูป
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
การโต้ตอบแบบ Target Area
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
by..Porta Boonyatearana
การสร้างตาราง Click mouse ที่ปุ่ม จะปรากฏช่องสี่เหลี่ยมแสดง
การตกแต่งสไลด์ 11 กรกฎาคม 2550.
บทที่ 6 การใส่เอฟเฟ็กต์ให้เนื้อหา
บทที่ 5 การแทรกรูปภาพ และอักษรประดิษฐ์
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ขั้นตอนการประดิษฐ์ที่รองแก้ว
เริ่มต้น Photoshop CS5.
การประดิษฐ์ตัวอักษร (ตอนที่ 2.1)
แบบทดสอบ Photoshop.
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
รายงาน เรื่อง จัดรูปแบบข้อมูล จัดทำโดย ด. ญ. ธิกานดา วัลยาภรณ์ ชั้นม.2/1 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ ภานุมาศ ชาติมองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
การสร้างงานกราฟิก ในภาษา php
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
วาดภาพสวยด้วย Paint.
บทที่ 7 การแทรกตาราง กราฟ และแผนผัง
หลักการออกแบบ ครูอนุชา สุระถา MR.ANUCHA SURATHA ครูนฤศรณ์ วิมลประสาร MR.NARUSORN WIMONPRASARN.
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
การใช้โปรแกรม ACDSee สร้าง Flash อย่างง่ายๆ
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
วาดเส้นและรูปทรงต่าง ๆ วาดเส้นและรูปทรงต่าง ๆ
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
วาดรูปด้วย Paint ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
Sukunya munjit..detudom.  เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผล กลางระดับ Intel Pentium 800 MHz หรือ สูงกว่า  ระบบปฏิบัติการ Windows 2000 หรือสูง กว่า.
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
Symbol & Instance.
บทที่ 3 การกำหนดรูปแบบตัวอักษร
บทที่ 2 เริ่มต้นใช้งาน Flash
บทที่ 8 การสร้างวัตถุเคลื่อนไหวโดย Bone Tool
พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม Flash CS3
CorelDRAW 12.
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
กิจกรรมคอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS3.
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
ค้นเจอหนังสือที่ต้องการ ใน library catalog
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร
สร้างและจัดการกับแผ่นสไลด์
นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์
เริ่มต้น Photoshop CS5.
ภาพนี้ชื่อว่าอะไร ? ก. แถบเมนูบาร์
เรื่อง จัดทำโดย กราฟ นายเทวา หาระโคตร ปวช.2 กลุ่ม.2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ขอนำเสนอ แผนภูมิกราฟ.
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
Graphic Design 03.
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
เรื่อง การประยุกต์ใช้ : การม้วน ขอบภาพ / รุ้ง ใบความรู้ โดย..... ครูนิ่มอนงค์ เดชภูงา โรงเรียนศรีปทุมพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33.
เซลล์และเวิร์กชีตและการจัดการกับเวิร์กชีต
การสร้างตารางใน เอกสาร Microsoft Word สิ่งที่ต้องเรียนในคาบนี้  เริ่มต้นสร้างตาราง  การจัดการกับแถวและคอลัมน์  การผสานช่องตารางและการจัดแนวข้อความ.
การพิมพ์ตารางออกทางเครื่องพิมพ์
การสร้างตารางคำนวณด้วย
การใช้เครื่องมือ (Tool Box)
การสร้างตารางในเอกสาร
2. วาดรูปวงกลม โดยใช้ Ellipse Toolขณะที่วาดนั้นให้กด shift เพื่อทำให้รูปนั้นกลมสวยงาม
เทคนิคการใช้ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
อ. สถิตย์ กังวานณรงค์กุล โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 วันที่ 1 มิถุนายน 2556 TEXT_LOGO.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Multimedia Application Business Computer การใช้สี Multimedia Application Business Computer

เลือกใช้สีเกรเดียนท์ แบบแนวตรง Linear ไล่สีในทิศทางในแนวตรง แบบรัศมีวงกลม Radial ไล่สีในทิศทางจากจุดศูนย์กลางแล้วกระจายออก คลิกเลือกจุดสีที่สอง คลิกเลือกจุดสีแรก 1 2

เลือกใช้สีเกรเดียนท์ การเพิ่มจุดสี โดยการคลิกบนแถบสีของพาเนล Color Mixer ตรงตำแหน่งที่จะเพิ่ม การลดจุดสี คลิกลากลงด้านล่างให้ออกจากแถบสี

การปรับแต่งสีเกรเดียนท์-แบบแนวตรง จุดปรับหมุน จุดปรับการกระจาย(ขนาดของวงกลมสี) จุดศูนย์กลางสี(รูปวงกลม)

การปรับแต่งสีเกรเดียนท์-แนวรัศมี จุดโฟกัสสี จุดปรับความกว้าง จุดปรับการกระจาย(ขนาดของวงกลมสี) จุดปรับหมุน จุดศูนย์กลางสี(รูปวงกลม)

ปรับการเรียงต่อของเกรเดียนท์ Extend ใช้ชุดสีเดียวต่อหนึ่งออบเจ็ค โดยไม่มีการเรียงต่อใดๆ Reflect เรียงต่อสีแบบสลับแนวการไล่สีแต่ละชุดจนเต็มออบเจ็ค Repeat เรียงต่อสีในแนวเดิมแต่ละชุดจนเต็มออบเจ็ค

กำหนดความโปร่งใสของสี(Alpha) 100% สีทึบ 0% โปร่งแสง กำหนดสีพื้นด้วยภาพบิทแมพ นำภาพแบบบิทแมพมาใช้ระบายสีหรือสีพื้นออบเจ็ค

การดูดสีด้วย Eyedropper เป็นเครื่องมือที่ใช้ก๊อปปี้คุณสมบัติของเส้นหรือสีพื้นของรูปทรงเพื่อนำไปใช้กับรูปทรงอื่น

ปรับเขตสีพื้นด้านนอก ใช้กับรูปทรงที่ไม่มีเส้นขอบ ใช้คำสั่ง Modify>Shape>Expand Fill ปรับขอบสีพื้นให้ดูนุ่มนวล ปรับขอบสีพื้นของรูปทรงให้ค่อยจางหายไปกับพื้นหลัง ใช้คำสั่ง Modify>Shape>Soften Fill Edges

การจัดลำดับการซ้อนกันของออบเจ็ค สามารถจัดลำดับของรูปทรงได้ตามต้องการ ยกเว้นรูปทรงแบบ Merge Drawing ออบเจ็คที่สร้างมาหลังสุดจะอยู่เหนือออบเจ็คอื่น ออบเจ็คที่เป็น Merge Drawing จะอยู่ด้านล่างเสมอ คำสั่งในการจัดลำดับ Modify>Arrange>เลือกคำสั่ง Bring to Front เพื่อเลื่อนออบเจ็คขึ้นมาชั้นบนสุด Bring Forward เพื่อเลื่อนออบเจ็คขึ้นมา 1 ชั้น Send Backward เพื่อเลื่อนออบเจ็คลงไป 1 ชั้น Send to Back เพื่อเลื่อนออบเจ็คลงไปชั้นล่างสุด