พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๒๓ ในการจัดซื้อหรือจ้าง ให้ส่วนราชการดำเนินการโดยเปิดเผยและเที่ยงธรรม โดยพิจารณาถึง ประโยชน์และผลเสียทางสังคม ภาระต่อประชาชน คุณภาพ วัตถุประสงค์ที่จะใช้ ราคา และประโยชน์ระยะยาวของส่วนราชการที่จะได้รับ ประกอบกัน ในกรณีที่วัตถุประสงค์ในการใช้ เป็นเหตุให้ต้องคำนึงถึงคุณภาพและการดูแลรักษาเป็นสำคัญ ให้สามารถกระทำได้โดยไม่ต้องถือราคาต่ำสุดในการเสนอซื้อหรือจ้างเสมอไป ให้ส่วนราชการที่มีหน้าที่ดูแลระเบียบเกี่ยวกับการพัสดุ ปรับปรุงระเบียบที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ส่วนราชการดำเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
หลักเกณฑ์การจัดหาที่ดี * โปร่งใส เปิดเผย และเป็นธรรม สามารถชี้แจงได้ มีการ แข่งขันอย่างแท้จริง * มีการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะและรูปแบบรายการที่ชัดเจนและเป็นกลาง สอดคล้องและตรงกับความต้องการใช้งานเป็นไปตามนโยบาย * ได้พัสดุที่ดี ทั้งคุณภาพ ราคา ระยะเวลาที่ต้องการ เพื่อการใช้งบประมาณที่เกิดประโยชน์สูงสุด คุ้มค่าของเงิน (Value for Money)
๑. วิธีตกลงราคา ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท การซื้อ/จ้าง มี ๖ วิธี ๑. วิธีตกลงราคา ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๒. วิธีสอบราคา ๑๐๐,๐๐๑ - ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๓. วิธีประกวดราคา เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๔. วิธีพิเศษ ๕. วิธีกรณีพิเศษ ๖. วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด
ขั้นตอนการซื้อและการจ้างทุกวิธี ทำรายงานขอซื้อ/จ้างพัสดุทั่วไป (ข้อ 27) ที่ดิน (ข้อ 28) เจ้าหน้าที่พัสดุ ให้ความเห็นชอบ (ข้อ 29) แต่งตั้งคณะกรรมการ (ข้อ 34) หัวหน้าส่วนราชการ ตกลงราคา (ข้อ 19,ข้อ 39) สอบราคา (ข้อ 20,ข้อ 40–43) ประกวดราคา (ข้อ 21,ข้อ 44–56) วิธีพิเศษ (ข้อ 23, ข้อ 57)(ข้อ 24,ข้อ 58) กรณีพิเศษ (ข้อ 26,ข้อ59) การประมูลทางอิเลคทรอนิกส์ ดำเนินการ ขออนุมัติซื้อ/จ้าง (ข้อ 65 – 67) ทำสัญญา (ข้อ 132 – 135) การซื้อการจ้างทั่วไป เปลี่ยนแปลงรายการ(ข้อ 136) ตรวจรับ การจ้างก่อสร้าง บอกเลิก (ข้อ 137 – 138) ข้อ 140 งด/ลดค่าปรับ ขยายเวลา (ข้อ 139) เบิกจ่าย
การดำเนินการจัดหา หลังทราบยอดเงินที่จะใช้ ให้พร้อมทำสัญญาทันที - ต้องมีการ วางแผน และ จัดหาตามแผน หลังทราบยอดเงินที่จะใช้ ให้พร้อมทำสัญญาทันที เมื่อได้รับอนุมัติทางการเงิน
รายงานขออนุมัติจัดหา ต้องมีรายละเอียดอย่างน้อย คือ รายงานขออนุมัติจัดหา ต้องมีรายละเอียดอย่างน้อย คือ - เหตุผลและความจำเป็นที่ต้องจัดหา - รายละเอียดของพัสดุ - ราคามาตรฐาน/ราคากลาง/ราคาที่เคยจัดหา -วงเงินที่จะจัดหา ระบุงบประมาณ - กำหนดเวลาที่ต้องการใช้งานพัสดุ -วิธีการจัดหาและเหตุที่ต้องจัดหาโดยวิธีนั้น -ข้อเสนออื่น
การประมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ - ร่าง TOR และเอกสารประกวดราคา - การแต่งตั้งคณะกรรมการประกวดราคา - การคัดเลือกผู้ให้บริการตลาดกลางฯ - การจัดทำรายงานขอซื้อหรือขอจ้าง - การประกาศเชิญชวน - การยื่นซองข้อเสนอด้านเทคนิค - การเสนอราคา - การแจ้งผลการเสนอราคา - การอุทธรณ์ผลการเสนอราคา
การตรวจรับพัสดุ - ต้องตรวจรับ ณ ที่ทำการของผู้ใช้พัสดุ หรือสถานที่ซึ่งกำหนดไว้ในสัญญา/ข้อตกลง - ปกติต้องตรวจรับวันที่ส่งพัสดุ และ ดำเนินการ โดยเร็วที่สุด - ต้องตรวจให้ถูกต้องครบถ้วน
การตรวจการจ้าง - ตรวจสอบกับแบบรูปรายการละเอียด และข้อกำหนด - ตรวจรายงานผู้ควบคุมงาน - ตรวจสอบกับแบบรูปรายการละเอียด และข้อกำหนด - ตรวจทุกสัปดาห์ - หากมีข้อสงสัย/ เห็นว่าตามหลักช่างสร้างไม่ได้ สั่งเปลี่ยนแปลง/ตัดทอนงานตามสมควร - ตรวจผลงานที่ผู้รับจ้างส่งมอบปกติภายใน 3-5 วันทำการ และตรวจรับให้เสร็จสิ้นโดยเร็วที่สุด
ผู้ทิ้งงาน - ไม่ปฏิบัติตามสัญญา - ไม่แก้ไขงานระหว่างประกัน - ไม่มาทำสัญญา - ไม่ปฏิบัติตามสัญญา - ไม่แก้ไขงานระหว่างประกัน - งานไม่ได้มาตรฐาน ไม่ครบถ้วน เสียหายร้ายแรง - ขัดขวางการแข่งขันราคา - กระทำโดยไม่สุจริต