พัฒนาองค์กรไร้พุง มุ่งสู่ความยั่งยืน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
Advertisements

ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
โครงการ “ภาคีร่วมใจคนไทยไร้พุง ”
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
8.20 hrs. 2 hrs hrs. กิจกรรมใน 1 วันของคนไทย Sedentary behaviour 2 hrs hrs.
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
การส่งเสริมทันต สุขภาพในอนาคต มุมมองของนัก โภชนาการ สง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขระดับ 9 กรมอนามัย.
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
สถานการณ์ด้านสังคมและสุขภาพ ที่ต้องเจอ
แผนงาน/โครงการ กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2554
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การประชุมสัมมนา เรื่อง การบริหารจัดการข้อมูลด้านแผนที่
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ศูนย์อนามัยที่๔ ราชบุรี
การเสริมสร้างให้บุคลากรรักองค์กร
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ประเด็น วิเคราะห์แนวคิดพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ปฏิบัติตาม 3 อ. บอกลา 2 ส. และเพิ่ม 1 ฟ.
ประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 2 ทำกิจกรรมตามภารกิจของแต่ ละองค์กร.
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
นิยาม Policy: ทิศทางของการกระทำที่ชัดเจนที่ได้ชี้นำและกำหนดการตัดสินใจ
นโยบายด้านบริหาร.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
เกณฑ์การประเมิน องค์กรต้นแบบไร้พุง
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
โภชนบัญญัติ สู่การปฏิบัติเพื่อโภชนาการที่ดี
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอ่อนหวาน
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
โรคเบาหวาน ภ.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
ผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกาย
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
กรมอนามัย ในบทบาทโครงการ
จุดประกายการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนเด็กไทยแก้มสและบนบาทของทีมวิทยากรระดับเขต วันที่ 5 มกราคม 2557 โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท โดย สง่า ดามาพงษ์
จริยธรรมของนักธุรกิจอาหาร
นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
INSPIRING THAILAND โครงการความร่วมมือเพื่อการ เปลี่ยนประเทศไทย Inspiring Thailand ประชาช น เอกชน รัฐ.
แผนงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อการขับเคลื่อนงาน อาหารและโภชนาการเชิง รุก โดย นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 9 กรมอนามัย.
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พัฒนาองค์กรไร้พุง มุ่งสู่ความยั่งยืน โดย อาจารย์สง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข (โภชนาการระดับเชี่ยวชาญ) ผู้จัดการแผนอาหารโภชนาการเชิงรุก อุปนายกสมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยฯ โฆษกกระทรวงสาธารณสุข

ประเด็น ความจำเป็นที่ต้องเป็นองค์กรไร้พุง ลักษณะขององค์กรไร้พุง ผลประโยชน์จากการเป็นองค์กรไร้พุง จากองค์กรต้นแบบสู่องค์กรไร้พุงที่ยั่งยืน

คำถามที่ต้องการคำตอบ คนในองค์กรคุณ... มีคนอ้วนรอบเอวเกินกี่คน? มีคนที่ไม่อ้วนแต่ไขมันในเลือดเกินกี่คน? มีคนเป็นเบาหวานกี่คน? ลาป่วยบ่อยไหม? เบิกค่ารักษาพยาบาลมากแค่ไหน?

คำถามที่ต้องการคำตอบ ผู้บริหารขององค์กรคุณ... แสดงความห่วงหาอาทรสุขภาพคุณบ้างไหม? มีกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพหรือเปล่า? สนับสนุนการออกกำลังกายบ้างไหม? ผู้บริหารของคุณอ้วนลงพุงไหม?

หากได้คำตอบ ออกมาในเชิงลบ องค์กรคุณคือ องค์กร อมโรค

องค์กร อมโรค นำไปสู่... สมรรถภาพการทำงาน ของคนในองค์กรด้อย ผลิตผลของงานต่ำ นำไปสู่ความหายนะ ขององค์กรในที่สุด

อ้วนลงพุง เป็น ปัญหาเงียบขององค์กร ที่ผู้บริหารคาดไม่ถึง และมองไม่เห็น อ้วนลงพุง เป็น ปัญหาเงียบขององค์กร ที่ผู้บริหารคาดไม่ถึง และมองไม่เห็น

แต่ มีหลายองค์กรเริ่มขยับ ลุกขึ้นมาจับคนในองค์กร ลดอ้วน ลดพุง จนได้เป็น องค์กรไร้พุงต้นแบบ

ขอแสดงความชื่นชม กับความพยายาม จนสำเร็จในก้าวแรก ขอแสดงความชื่นชม กับความพยายาม จนสำเร็จในก้าวแรก

ความสำเร็จก้าวแรก ไม่ควรวัดกันแค่ คนในองค์กร พุงยุบ น้ำหนักลด ความสำเร็จก้าวแรก ไม่ควรวัดกันแค่ คนในองค์กร พุงยุบ น้ำหนักลด

แต่ ต้องถามตัวเองต่อไปว่า... ผู้นำองค์กรลงมาเล่นด้วยไหม? คนในองค์กรร้อยละเท่าไหร่เข้าร่วมโครงการ? องค์กรได้สร้างแรงจูงใจอะไรบ้าง? องค์กรได้สร้างปัจจัยเอื้อเพื่อลดพุงบ้างไหม? องค์กรได้มีนโยบายสาธารณะบ้างไหม?

องค์กรคุณจะเป็น องค์กรไร้พุงต้นแบบ แบบไฟไหม้ฟาง ถ้าคำตอบเป็นลบ องค์กรคุณจะเป็น องค์กรไร้พุงต้นแบบ แบบไฟไหม้ฟาง

ความล้มเหลวเกิดเพราะ... ขาดจิตสำนึกถึงแก่นแท้การขับเคลื่อน ทำตามกระแส เอาใจใครบางคน ขาดมองการไกล ความยั่งยืนจึง ไม่บังเกิด

ก้าวสู่ องค์กรไร้พุงที่ยั่งยืน มุ่งขับเคลื่อนและพัฒนา อย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 3-5 ปี

กระบวนการพัฒนา เริ่มจาก ถอดบทเรียน ตามด้วย สังเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง และ กำหนดทิศทางก้าวต่อไป

ปัจจัยสู่ความยั่งยืน (1) ผู้นำองค์กรให้ความสำคัญ บรรจุเข้าไว้ในวาระ / แผนงานองค์กร มีผู้นำ / แกนนำ ขับเคลื่อนที่เอาจริง กำหนดแผนปฏิบัติงานรายปี

ปัจจัยสู่ความยั่งยืน (2) ปลุกให้เกิดกระแสลดพุงในองค์กร กระตุ้นให้คนในองค์กรเข้าร่วมให้มากที่สุด สร้างค่านิยมใหม่ในองค์กร สร้างแรงจูงใจตลอดเวลา

ปัจจัยสู่ความยั่งยืน (3) สร้างปัจจัยเอื้อต่อการลดพุง ทั้ง 3อ. อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์

ปัจจัยสู่ความยั่งยืน (4) กำหนดนโยบายระดับองค์กร เช่น กำหนดให้ทุกวันอังคารและพฤหัสปิดลิฟท์ กำหนดให้ทุกวันพุธเป็นวันกินผักผลไม้ กำหนดให้วันศุกร์เป็นวันกินปลา ไม่มีน้ำอัดลม ขนมหวาน จำหน่ายในองค์กร

ปัจจัยภายนอก ต้องหนุนเสริม การรณรงค์ทาง Air War สนับสนุนทางวิชาการ สนับสนุนสื่อ เกิดการแข่งขันระหว่างองค์กร

องค์กรไร้พุง ต้อง ใช้เวลาในการขับเคลื่อน จึงจะ เห็นผลกระทบที่เป็นรูปธรรม

จาก 1 องค์กรไร้พุง กระจายเป็น 100, 1,000, 100,000, 1,000,000 องค์กร เข้าสู่ คนไทยไร้พุง ประเทศไทยไร้พุง ต้นแบบของโลก

สวัสดีครับ