สำนักงานเกษตรจังหวัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ขั้นตอนการขอรับบริการแจกจ่ายกล้าไม้
Advertisements

บริษัท กุ้งหลวงไคโตซาน จำกัด
ขั้นตอนการจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนตำบล
หน้าที่ความรับผิดชอบ
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
เรื่อง ระเบียบแก้ไขวันเดือนปีเกิด
ขั้นตอนการเปลี่ยนชื่อสกุล
รายงานการระบาดศัตรูพืช
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
ประชุมชี้แจงแนวปฏิบัติประจำปีงบประมาณ 2557
การรับและนำส่งเงินรายรับค่ารักษาพยาบาล
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การประชุมOEC-4R ครั้งที่ 11/ DECEMBER 53
ขั้นตอนการจัดหาโดยการรับบริจาคของหน่วยงานกรมประมง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบภาษีสรรพสามิต
การขอใช้สิทธิ์สำหรับรถยนต์ใหม่คันแรกตามนโยบายรัฐบาล
การรับแบบและบันทึกข้อมูลคำขอใช้สิทธิ์ฯ
โครงการรถยนต์คันแรกกับภาษีสรรพสามิตรถยนต์
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การรับรองหลักสูตร การรับรองค่าใช้จ่าย
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
แผนผังขั้นตอนการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2556/57
มาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
หลักฐานการจ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆ
กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งการผลิตเพื่อขาย หรือนำเข้าเพื่อขายเครื่องสำอางควบคุม พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 2 มิถุนายน 2553.
กลุ่มที่ 3 การทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
รายงานผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณปี 2554
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
ฝ่ายบริหารทั่วไป หน้าที่ความรับผิดชอบ รับผิดชอบการปฏิบัติงานบริหารทั่วไป ได้แก่ งานธุรการ งานสารบรรณ งานการเงิน บัญชี และพัสดุ งานยานพาหนะ งานจัดทำและบริหารงบประมาณ.
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
ชี้แจงขั้นตอนการทำประชาคม / การออกใบรับรอง และแนวทางการแก้ไขปัญหา ระบบการรับขึ้นทะเบียนการปลูกข้าว 3 มีนาคม 2553.
โครงการขึ้นทะเบียนการปลูก พืชเศรษฐกิจหลัก 3 ชนิด
การออกใบรับรองเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2551 /52
1 การจัดเก็บและใช้ประโยชน์ข้อมูล โครงการมาตรการแทรกแซงตลาดมัน สำปะหลัง ออมทรัพย์ ไวยากรณ์วิลาศ ผอ. กลุ่มวิเคราะห์และวางระบบข้อมูล ศูนย์สารสนเทศ.
ผลการ ดำเนินงาน โดย : อรุณี เจริญ ศักดิ์ศิริ. มติ คชก. 14 พย. 50 กรมการค้า ภายใน กรมบัญชีกลาง แจ้งให้ทำ 20 พย. 50 ขอเบิกเงิน 8 มค.51 โอนเงินให้ 17 มค.51.
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
ITกับโครงการ Food safety
การติดตามประเมินผลและรายงาน_Louis_500227
ขั้นตอนการขอจัดตั้งสหกรณ์
การจัดทำเอกสารเบิกจ่ายเงินวิจัย
การขึ้นทะเบียนผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจหลัก เพื่อโครงการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55 กรมส่งเสริมการเกษตร.
อบรมคณะกรรมการ ตสน. ระดับกลุ่มเครือข่าย
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การบริหารงานบุคคล นายสัจจา วงศาโรจน์ ผู้อำนวยการกลุ่มการเจ้าหน้าที่ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.
การดำเนินการ ของส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ ในระบบ GFMIS
กลุ่มวิจัยและพัฒนาสหกรณ์
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว รอบที่ 1 ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ที่ปลูกเหมือนภาคอื่นๆ.
ให้รวมถึงบุคคลดังต่อไปนี้ด้วย
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
ข้อมูล ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2555 ประจำปีงบประมาณ 2555 ( เมษายน - กันยายน 2555) ผลการ ปฏิบัติงาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานเกษตรจังหวัด ขั้นตอนการจัดสรรสารเคมี กรมส่งเสริมการเกษตร สำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานเกษตรอำเภอ สารเคมี หลักฐาน เกษตรกร

กรมส่งเสริมการเกษตร 1. จัดซื้อสารเคมีด้วยวิธี E-auction 2. จัดสรรสารเคมีให้จังหวัด 3. บริษัทผู้ขายจัดส่งถึงจังหวัด

สำนักงานเกษตรจังหวัด 1. รับสารเคมีจากบริษัทผู้ขาย 2. จัดสรรสารเคมีให้อำเภอ

สำนักงานเกษตรจังหวัด การรับสารเคมีจากบริษัทผู้ขาย 1.1 บริษัทนัดวันส่งมอบ 1.2 คณะกรรมการตรวจรับสารเคมี (คำสั่ง 361/2554) - สำรวจความเรียบร้อยของกล่องบรรจุสารเคมีทุกกล่อง และ หนังสือยืนยันคุณภาพ - นับจำนวนกล่อง - สุ่มนับจำนวนขวดสารเคมี - รับน้ำหนัก ไม่ครบ ยกเลิก ครบถ้วน ถูกต้อง ตรวจรับ

สำนักงานเกษตรจังหวัด เมื่อตรวจรับแล้ว 1. สำเนาหนังสือนำส่งและใบตอบรับพัสดุพร้อมเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเก็บไว้เป็นหลักฐานที่จังหวัด 2. ส่งโทรสารหนังสือนำส่งและใบตอบรับพัสดุมาที่กรมทันที 3. ส่ง EMS ต้นฉบับหนังสือนำส่งและใบตอบรับพัสดุมาที่กรม 4. สำเนาใบตอบรับพัสดุและหนังสือยืนยันคุณภาพสารเคมี เตรียมส่งให้อำเภอพร้อมสารเคมี

สำนักงานเกษตรจังหวัด 2. การจัดสรรสารเคมีให้อำเภอ 2.1 แจ้งอำเภอให้สำรวจเกษตรพร้อมจัดทำบัญชีรายชื่อ และพื้นที่ปลูก ตามพื้นที่ปลูกจริง แต่ไม่เกินรายละ 25 ไร่ (ใช้ฐานข้อมูล ทบก. และ ทพศ. อ้างอิง) 2.2 จัดสรรสารเคมีให้ตามบัญชีรายชื่อ (ไร่ละ 16 กรัม) 2.3 ติดตามการจัดสรรสารเคมีให้เกษตรกร 2.4 สรุปรายงานให้กรมภายใน 7 วัน

สำนักงานเกษตรอำเภอ 1. ตรวจสอบรายชื่อและพื้นที่ปลูก 2. รับและจ่ายสารเคมี

สำนักงานเกษตรอำเภอ 1. ตรวจสอบรายชื่อและพื้นที่ปลูก 1.1 สำรวจเกษตรกรและจำนวนพื้นที่ 2.2 รวบรวมรายชื่อและพื้นที่ส่งให้สำนักงานเกษตรจังหวัด ** เกษตรกรและจำนวนพื้นที่สามารถใช้ข้อมูลจาก ทบก. และ ทพศ. ปี 52/53 เป็นข้อมูลอ้างอิงได้

สำนักงานเกษตรอำเภอ 2. การรับและจ่ายสารเคมี แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับสารเคมี ระดับอำเภอ เพื่อรับผิดชอบการรับและจ่ายสารเคมีดำเนินการ ดังนี้ 1. สำรวจความเรียบร้อยของกล่องบรรจุสารเคมีทุกกล่อง และ หนังสือยืนยันคุณภาพ 2. สุ่มตรวจจำนวนสารเคมีในแต่ละกล่อง (สุ่มร้อยละ 5 ของจำนวนกล่องที่ได้รับ) 3. รับน้ำหนัก ไม่ครบ ยกเลิก ครบถ้วน ตรวจรับ

สำนักงานเกษตรอำเภอ เมื่อตรวจรับแล้ว 1. แจ้งแผนจัดสรรสารเคมีให้จังหวัดทราบก่อนดำเนินการ 2. นัดหมายให้เกษตรกรมารับสารเคมีที่สำนักงานเกษตรอำเภอ พร้อมแสดงบัตรประชาชน 3. จัดสรรสารเคมีให้เกษตรกรตามรายชื่อ และให้เกษตรกร ลงลายมือชื่อในใบรับสารเคมีพร้อม จนท.ผู้จ่าย โดย ต้นฉบับ ใบรับสารเคมีฉีกให้เกษตรกรเก็บเป็นหลักฐาน สำเนาใบรับสารเคมี สนง.กษอ.เก็บไว้เป็นหลักฐาน

สำนักงานเกษตรอำเภอ เมื่อจัดสรรสารเคมีให้กับเกษตรกรแล้ว 1. จนท.ส่งเสริมการเกษตรประจำตำบลสรุปผล รายงาน กษอ.ภายใน 3 วัน 2. สำนักงานเกษตรอำเภอรายงาน กษจ. ภายใน 5 วัน

เงื่อนไขของเกษตรกรที่มีสิทธิ์รับสารเคมี ขึ้นทะเบียน ทบก. กรณีที่เกษตรกรยังไม่ขึ้น ทบก. ให้ดำเนินการขึ้นทะเบียนทันที และนำหลักฐานการขึ้นทะเบียนมาแสดงต่อเจ้าหน้าที่เพื่อขอรับการสนับสนุนสารเคมี สนับสนุนสารเคมีให้เฉพาะเกษตรกรที่ปลูกมันตั้งแต่วันรับสารเคมี ถึงวันที่ 30 กันยายน 2554 เท่านั้น โดยจะสนับสนุนตามพื้นที่ปลูกจริง แต่ไม่เกินรายละ 25 ไร่

คำแนะนำในการจัดสรรสารเคมี นัดหมายเกษตรกรเป็นรายตำบล และให้คณะทำงาน ศจช.เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดสรร (ถ้าในตำบลนั้นไม่มี ศจช. ให้ใช้กรรมการบริหาร ศบกต.) ไม่ควรนัดหมายพร้อมกันหลายๆ ตำบลเพราะอาจทำให้เกิดความผิดพลาดได้ง่าย แนะนำให้เกษตรกรรงมกลุ่มกันมารับให้พอดีกับขนาดบรรจุภัณฑ์ของสารเคมี สารเคมี 1 กระป๋อง บรรจุ 100 กรัม สามารถแช่ท่อนพันธุ์ได้ 6 ไร่ 1 งาน (ไร่ละ 16 กรัม)

การติดตามการใช้สารเคมี เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรประจำตำบล ร่วมกับ สมาชิก ศจช. หรือกรรมการบริหาร ศบกต. ติดตามการใช้สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลังของเกษตรกรรายงานเกษตรอำเภอทุก 15 วัน สนง.กษอ. รายงานผลการติดตามให้ กษจ. ทราบทุก 15 วัน สนง.กษจ. รายงานผลการติดตามให้ กรมทราบทุกวันที่ 15 ของเดือน รายงานต่อเนื่องจนกว่าจะสิ้นสุดโครงการ