สำนักงานเกษตรจังหวัด ขั้นตอนการจัดสรรสารเคมี กรมส่งเสริมการเกษตร สำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานเกษตรอำเภอ สารเคมี หลักฐาน เกษตรกร
กรมส่งเสริมการเกษตร 1. จัดซื้อสารเคมีด้วยวิธี E-auction 2. จัดสรรสารเคมีให้จังหวัด 3. บริษัทผู้ขายจัดส่งถึงจังหวัด
สำนักงานเกษตรจังหวัด 1. รับสารเคมีจากบริษัทผู้ขาย 2. จัดสรรสารเคมีให้อำเภอ
สำนักงานเกษตรจังหวัด การรับสารเคมีจากบริษัทผู้ขาย 1.1 บริษัทนัดวันส่งมอบ 1.2 คณะกรรมการตรวจรับสารเคมี (คำสั่ง 361/2554) - สำรวจความเรียบร้อยของกล่องบรรจุสารเคมีทุกกล่อง และ หนังสือยืนยันคุณภาพ - นับจำนวนกล่อง - สุ่มนับจำนวนขวดสารเคมี - รับน้ำหนัก ไม่ครบ ยกเลิก ครบถ้วน ถูกต้อง ตรวจรับ
สำนักงานเกษตรจังหวัด เมื่อตรวจรับแล้ว 1. สำเนาหนังสือนำส่งและใบตอบรับพัสดุพร้อมเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเก็บไว้เป็นหลักฐานที่จังหวัด 2. ส่งโทรสารหนังสือนำส่งและใบตอบรับพัสดุมาที่กรมทันที 3. ส่ง EMS ต้นฉบับหนังสือนำส่งและใบตอบรับพัสดุมาที่กรม 4. สำเนาใบตอบรับพัสดุและหนังสือยืนยันคุณภาพสารเคมี เตรียมส่งให้อำเภอพร้อมสารเคมี
สำนักงานเกษตรจังหวัด 2. การจัดสรรสารเคมีให้อำเภอ 2.1 แจ้งอำเภอให้สำรวจเกษตรพร้อมจัดทำบัญชีรายชื่อ และพื้นที่ปลูก ตามพื้นที่ปลูกจริง แต่ไม่เกินรายละ 25 ไร่ (ใช้ฐานข้อมูล ทบก. และ ทพศ. อ้างอิง) 2.2 จัดสรรสารเคมีให้ตามบัญชีรายชื่อ (ไร่ละ 16 กรัม) 2.3 ติดตามการจัดสรรสารเคมีให้เกษตรกร 2.4 สรุปรายงานให้กรมภายใน 7 วัน
สำนักงานเกษตรอำเภอ 1. ตรวจสอบรายชื่อและพื้นที่ปลูก 2. รับและจ่ายสารเคมี
สำนักงานเกษตรอำเภอ 1. ตรวจสอบรายชื่อและพื้นที่ปลูก 1.1 สำรวจเกษตรกรและจำนวนพื้นที่ 2.2 รวบรวมรายชื่อและพื้นที่ส่งให้สำนักงานเกษตรจังหวัด ** เกษตรกรและจำนวนพื้นที่สามารถใช้ข้อมูลจาก ทบก. และ ทพศ. ปี 52/53 เป็นข้อมูลอ้างอิงได้
สำนักงานเกษตรอำเภอ 2. การรับและจ่ายสารเคมี แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับสารเคมี ระดับอำเภอ เพื่อรับผิดชอบการรับและจ่ายสารเคมีดำเนินการ ดังนี้ 1. สำรวจความเรียบร้อยของกล่องบรรจุสารเคมีทุกกล่อง และ หนังสือยืนยันคุณภาพ 2. สุ่มตรวจจำนวนสารเคมีในแต่ละกล่อง (สุ่มร้อยละ 5 ของจำนวนกล่องที่ได้รับ) 3. รับน้ำหนัก ไม่ครบ ยกเลิก ครบถ้วน ตรวจรับ
สำนักงานเกษตรอำเภอ เมื่อตรวจรับแล้ว 1. แจ้งแผนจัดสรรสารเคมีให้จังหวัดทราบก่อนดำเนินการ 2. นัดหมายให้เกษตรกรมารับสารเคมีที่สำนักงานเกษตรอำเภอ พร้อมแสดงบัตรประชาชน 3. จัดสรรสารเคมีให้เกษตรกรตามรายชื่อ และให้เกษตรกร ลงลายมือชื่อในใบรับสารเคมีพร้อม จนท.ผู้จ่าย โดย ต้นฉบับ ใบรับสารเคมีฉีกให้เกษตรกรเก็บเป็นหลักฐาน สำเนาใบรับสารเคมี สนง.กษอ.เก็บไว้เป็นหลักฐาน
สำนักงานเกษตรอำเภอ เมื่อจัดสรรสารเคมีให้กับเกษตรกรแล้ว 1. จนท.ส่งเสริมการเกษตรประจำตำบลสรุปผล รายงาน กษอ.ภายใน 3 วัน 2. สำนักงานเกษตรอำเภอรายงาน กษจ. ภายใน 5 วัน
เงื่อนไขของเกษตรกรที่มีสิทธิ์รับสารเคมี ขึ้นทะเบียน ทบก. กรณีที่เกษตรกรยังไม่ขึ้น ทบก. ให้ดำเนินการขึ้นทะเบียนทันที และนำหลักฐานการขึ้นทะเบียนมาแสดงต่อเจ้าหน้าที่เพื่อขอรับการสนับสนุนสารเคมี สนับสนุนสารเคมีให้เฉพาะเกษตรกรที่ปลูกมันตั้งแต่วันรับสารเคมี ถึงวันที่ 30 กันยายน 2554 เท่านั้น โดยจะสนับสนุนตามพื้นที่ปลูกจริง แต่ไม่เกินรายละ 25 ไร่
คำแนะนำในการจัดสรรสารเคมี นัดหมายเกษตรกรเป็นรายตำบล และให้คณะทำงาน ศจช.เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดสรร (ถ้าในตำบลนั้นไม่มี ศจช. ให้ใช้กรรมการบริหาร ศบกต.) ไม่ควรนัดหมายพร้อมกันหลายๆ ตำบลเพราะอาจทำให้เกิดความผิดพลาดได้ง่าย แนะนำให้เกษตรกรรงมกลุ่มกันมารับให้พอดีกับขนาดบรรจุภัณฑ์ของสารเคมี สารเคมี 1 กระป๋อง บรรจุ 100 กรัม สามารถแช่ท่อนพันธุ์ได้ 6 ไร่ 1 งาน (ไร่ละ 16 กรัม)
การติดตามการใช้สารเคมี เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรประจำตำบล ร่วมกับ สมาชิก ศจช. หรือกรรมการบริหาร ศบกต. ติดตามการใช้สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลังของเกษตรกรรายงานเกษตรอำเภอทุก 15 วัน สนง.กษอ. รายงานผลการติดตามให้ กษจ. ทราบทุก 15 วัน สนง.กษจ. รายงานผลการติดตามให้ กรมทราบทุกวันที่ 15 ของเดือน รายงานต่อเนื่องจนกว่าจะสิ้นสุดโครงการ