AEC Perspective & Global Dynamic

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพยาบาลผู้ป่วยและผู้ใช้บริการจากกลุ่มประเทศอาเซียน
Advertisements

บทที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจออนไลน์
บทที่ 2 แนวคิดและความสำคัญของงานการขาย
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
รอบรู้อาเซียน.
Strategic Management ผศ.กันธิชา ทองพูล.
การวางแผนกลยุทธ์.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
รายงานที่ให้ทำ (ทุกคน)
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
Chapter 2 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
การขายศิลปะการสื่อสารจูงใจของผู้นำ การขาย ศิลปะการสื่อสารจูงใจของผู้นำ
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
กระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและการวางแผน
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล พ. ศ
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”. การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
การเตรียมการของคณะครุศาสตร์ สู่การเป็นประชาคมอาเซียน
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
เราเป็นผู้นำ.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
กลุ่มที่ 4.
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
Welcome.
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Planning & Strategic Management)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

AEC Perspective & Global Dynamic Somboon Boonyavanich กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สภาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร e-mail: boonyavanich@gmail.com

แรงจูงใจ Learn How to Learn Organization Development Model Somboon Boonyavanich

ความคิดต่อบทบาท และหน้าที่ ครอบครัว เรา ที่ทำงาน พฤติกรรม

พฤติกรรมนักเดินทาง 3 ประเภท ความเพียรพยายามอย่างยิ่งยวด AQ: Adversity Quotient หาประสบการณ์ (Climber) สูง ปานกลาง พักอยู่กับที่ (Camper) แรงบันดาลใจ Inspiration อยากกลับ (Quitter) ต่ำ ต่ำ ปานกลาง สูง Organization Development Model Source: Adapted from Stoltz, Paul G. 1997. Adversity Quotient: Turning Obstacles into Opportunities. Somboon Boonyavanich

เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง หรือถูกบังคับให้เปลี่ยนแปลง กติกาการแข่งขันทางการค้าใหม่ การค้านำการเมือง วัฒนธรรม และเชื้อชาติ ปรับตัวให้ทันกับ การเปลี่ยนแปลง ของสภาพแวดล้อม ได้อย่างไร? ผู้นำอ่อนแอ ผลประโยชน์ไม่ลงตัว สงครามพลังงาน ระบบงานราชการ ทรัพยากรมีจำกัด การเปลี่ยนเทคโนโลยี ตลาดการแข่งขันที่รุนแรง เป็นทาสสิ่งที่สร้างขึ้น ทรัพยากรบุคคลไม่มีประสิทธิภาพ การบริหารเชิงกลยุทธ์ สมบุญ บุญญาวนิชย์

จะเปลี่ยนแปลง หรือสิ้นสูญ “สิ่งมีชีวิตที่อยู่รอดได้ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงนั้น ไม่จำเป็นต้องเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีพละกำลังมากที่สุด ไม่จำเป็นต้องเป็นสิ่งมีชีวิตที่ฉลาดที่สุด เพียงแต่ ต้องเป็นสิ่งมีชีวิตที่ ยอมรับ และปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปได้ดีที่สุด” ชาร์ลส์ ดาร์วิน การบริหารเชิงกลยุทธ์ สมบุญ บุญญาวนิชย์

สภาพแวดล้อมใหม่ประเทศไทย สภาพแวดล้อมโลก สภาพแวดล้อมภูมิภาค สภาพแวดล้อมประเทศ สภาพแวดล้อมธุรกิจ สภาพแวดล้อมขององค์กร สภาพแวดล้อมทางสังคม:S สภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยี:T สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ:E สภาพแวดล้อมทางการเมือง:P

สภาพแวดล้อมใหม่ประเทศไทย การเมือง: ASEAN Security Community เศรษฐกิจ: ASEAN Economic Community สังคม: ASEAN Socio-Cultural Community เทคโนโลยี: Excellently Free flow

AEC Perspective 20/08/55 สภาพแวดล้อมเป็นทั้ง วิกฤต(PEST)และโอกาส(STEP) ท่านมีกลยุทธ์ที่จะรับการเปลี่ยนแปลงอย่างไร P : การเมือง(ASC) ให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติ มีระบบแก้ไขความขัดแย้งระหว่างกันได้ด้วยดี มีเสถียรภาพอย่างรอบด้าน ผู้นำมีวิสัยทัศน์ T : เทคโนโลยี ให้ความสำคัญกับงานวิจัย เพื่อเพิ่มมูลค่าทรัพยากร และลดต้นทุนพลังงาน S : สังคม(ASCC) ประชาชนแต่ละประเทศอาเซียนอยู่ร่วมกันภายใต้แนวคิดสังคมที่เอื้ออาทรมีสวัสดิการ และมีความมั่นคงทางสังคมที่ดี E : เศรษฐกิจ(AEC) ให้เกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และการอำนวยความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน อันจะทำให้ภูมิภาคมีความเจริญมั่งคั่ง และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่น ๆ ได้ เพื่อความอยู่ดีกินดีของประชาชนในประเทศอาเซียน สมบุญ บุญญาวนิชย์ การบริหารเชิงกลยุทธ์ Somboon Boonyavanich

STEP------------------PEST สภาพแวดล้อมใหม่ประเทศไทย Social environment Technology environment Economic environment Politic environment

Effective Action Plans Input Process Results Goals Corrections 4 M Input Process Results Goals Corrections Corrections tripleP@work

STEP Context of Environment สภาพแวดล้อมภายนอก Attitude & attitude สนับสนุน Input สภาพแวดล้อมภายใน เห็นต่าง Man Money Material Machine PEST

System Model Input–Process(means)–Output(end) vs. Context(environment) Outcome Ultimate Outcome END เป้าหมายสุดท้าย Process (means) Input = + - x / tripleP@work

ความเข้าใจ-ความจริง 1 2 3 4 5 Somboon Boonyavanich Change

AEC+6 ประเด็นที่น่าสนใจ จะบุกออกไปต่างประเทศ จะตั้งรับอยู่ในประเทศ รู้ความจริงของเขา ? รู้ความจริงของเรา ?

1.ประเทศสิงคโปร์ จุดแข็ง จุดอ่อน รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีสูงสุดของอาเซียน และติดอันดับ 15 ของโลก การเมืองมีเสถียรภาพ เป็นศูนย์กลางทางการเงินระหว่างประเทศ แรงงานมีทักษะสูง ชำนาญด้านการจัดการทรัพยากรบุคคล และธุรกิจ มีที่ตั้งเอื้อต่อการเป็นศูนย์กลางการเดินเรือ จุดอ่อน พึ่งพาการนำเข้าวัตถุดิบ ขาดแคลนแรงงานระดับล่าง ค่าใช้จ่ายในการดำเนินธุรกิจสูง

2.ประเทศอินโดนีเซีย จุดแข็ง จุดอ่อน ที่ตั้งเป็นเกาะและกระจายตัว ขนาดเศรษฐกิจใหญ่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลาดขนาดใหญ่ (ประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของโลก และมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) มีชาวมุสลิมมากที่สุดในโลก มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและจำนวนมาก โดยเฉพาะถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ โลหะต่างๆ ระบบธนาคารค่อนข้างแข็งแกร่ง ที่ตั้งเป็นเกาะและกระจายตัว สาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร โดยเฉพาะการคมนาคม และการเชื่อมโยงระหว่างประเทศ

3.ประเทศมาเลเซีย จุดแข็ง จุดอ่อน รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีอยู่ในอันดับ 3 ของอาเซียน มีปริมาณสำรองน้ำมันมากเป็นอันดับ 3 และก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2 ของเอเชียแปซิฟิก ระบบโครงสร้างพื้นฐานครบวงจร แรงงานมีทักษะ จำนวนประชากรค่อนข้างน้อย ทำให้ขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะระดับล่าง

4.ประเทศบรูไน จุดแข็ง จุดอ่อน รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีอยู่ในอันดับ 2 ของอาเซียน และอันดับ 26 ของโลก การเมืองค่อนข้างมั่นคง เป็นผู้ส่งออกน้ำมัน และมีปริมาณสำรองน้ำมันอันดับ 4 ของอาเซียน ตลาดขนาดเล็ก ประชากรประมาณ 4 แสนคน ขาดแคลนแรงงาน

5.ประเทศฟิลิปปินส์ จุดแข็ง จุดอ่อน ประชากรจำนวนมากอันดับ 12 ของโลก (>100 ล้านคน) แรงงานทั่วไปมีความรู้-สื่อสารภาษาอังกฤษได้ ที่ตั้งห่างไกลจากประเทศสมาชิกอาเซียน ระบบโครงสร้างพื้นฐาน และสวัสดิภาพทางสังคมยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร

6.ประเทศเวียดนาม จุดแข็ง จุดอ่อน ประชากรจำนวนมากอันดับ 14 ของโลก (~90 ล้านคน) มีปริมาณสำรองน้ำมันมากเป็นอันดับ 2 ของเอเชียแปซิฟิก มีแนวชายฝั่งทะเลยาวกว่า 3,200 กิโลเมตร การเมืองมีเสถียรภาพ ค่าจ้างแรงงานเกือบต่ำสุดในอาเซียน รองจากกัมพูชา ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร ต้นทุนที่ดินและค่าเช่าสำนักงานค่อนข้างสูง

7.ประเทศกัมพูชา จุดแข็ง จุดอ่อน มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะน้ำ ป่าไม้ และแร่ชนิดต่างๆ ค่าจ้างแรงงานต่ำสุดในอาเซียน (1.6 USD/day) ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร ต้นทุนสาธารณูปโภค (น้ำ ไฟฟ้า และการสื่อสาร) ค่อนข้างสูง ขาดแคลนแรงงานมีทักษะ

8.ประเทศลาว จุดแข็ง จุดอ่อน มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะน้ำและแร่ชนิดต่างๆ การเมืองมีเสถียรภาพ ค่าจ้างแรงงานค่อนข้างต่ำ (2.06 USD/day) ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงและภูเขา การคมนาคมไม่สะดวก ไม่มีทางออกสู่ทะเล

9.ประเทศพม่า จุดแข็ง จุดอ่อน มีทรัพยากรธรรมชาติน้ำมันและก๊าซธรรมชาติจำนวนมาก มีพรมแดนเชื่อมโยงจีนและอินเดีย ค่าจ้างแรงงานค่อนข้างต่ำ (2.5 USD/day) ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร ความไม่แน่นอนทางการเมือง และนโยบาย

คนไทยเป็นอย่างไรในสายตาคุณ ชอบมีหน้ามีตา เชื่อในพิธีกรรม มีน้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ .........................................................................

จุดอ่อนของคนไทย ทุจริต ไม่มีระเบียบวินัย มองไม่ไกล .........................................................................

จุดแข็งของคนไทย คนไทยคิดอะไรอยู่ .mp4 รักครอบครัว รักความสนุก อบอุ่นเป็นมิตร ริเริ่มสร้างสรรค์ ......................................................................... ........................................................................

ความหมายของ GDP & PPP GDP: gross domestic product ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ หรือ ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น หมายถึง มูลค่าตลาดของสินค้า และบริการขั้นสุดท้ายที่ถูกผลิตในประเทศในช่วงเวลาหนึ่งๆ โดยไม่คำนึงว่าผลผลิตนั้นจะผลิตขึ้นมาด้วยทรัพยากรของชาติใด ซึ่งถูกคิดค้นโดย Simon Kuznets นักเศรษฐศาสตร์ชาวรัสเซีย ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศสามารถใช้เป็นตัวบ่งชี้ถึงมาตรฐานการครองชีพของประชากรในประเทศนั้นๆ GDP = C + I + G + NE หรือ C + I + G + (X - M) แต่อย่างไรก็ตาม จีดีพี เป็นดัชนีชี้วัดผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ แต่ไม่สามารถชี้วัดคุณภาพชีวิตที่แท้จริงได้

ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ (PPP: Purchasing power parity) เป็นเทคนิคการวัดค่าเงินของแต่ละประเทศเพื่อหาอำนาจในการสั่งซื้อ ในทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การคำนวณที่อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราของแต่ละประเทศว่าจำนวนเงินที่จะต้องใช้ซื้อสินค้าและบริการเดียวกัน

ข้อมูลจาก The Economist รวมรวมระหว่างปี 2009 ถึง 2011 ประเทศ ประชากร GDP/$bn GDP/H/$ppp อายุเฉลี่ย พื้นที่/ตร.กม 1.สิงคโปร์ 4.7m 182.2 50,633 37.6 600 2.อินโดนีเซีย 230.0m 540.3 4,199 27.8 1,904,000 3.มาเลเซีย 27.5m 193.1 14,012 26 333,000 4.บรูไน 0.4m 10.7 51,205 28.9 6,000 5.ฟิลิปปินส์ 92.0m 161.2 3,542 22.2 300,000 6.เวียดนาม 88.1m 97.2 2,953 28.2 331,000 7. กัมพูชา 14.8m 10.4 1,915 22.9 181,000 8. ลาว 6.3m 5.9 2,255 21.5 237,000 9. พม่า 50.0m 35.2 380 677,000 10.ไทย 67.8m 263.8 7,995 34.2 513,115 11.จีน 1,345.8m 4,985.5 6,828 34.5 9,561,000 12.อินเดีย 1,198.0m 1,377.3 3,296 25.1 3,287,000 13.ญี่ปุ่น 127.2m 5,068.0 32,418 44.7 378,000 14.เกาหลีใต้ 48.3m 823.5 37,100 37.9 99,000 16.ออสเตรีย 21.3m 924.8 39,539 36.9 7,782,000 16.นิวซีแลนด์ 4.3m 126.7 28,993 36.6 271,000 รวม 3,326.5m ข้อมูลจาก The Economist รวมรวมระหว่างปี 2009 ถึง 2011

กลศาสตร์สังคม ถ้าประเทศใดมีระดับการศึกษาต่ำ ยากจน และความไม่รู้จักรากฐานทางขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมใหม่ทางเศรษฐกิจสังคม หรือ Socioeconomic น่าจะเป็นอุปสรรค PEST มากกว่าโอกาส STEP ปฏิกริยา “กลศาสตร์สังคม” (Socionic Effect) เป็นสิ่งที่เวลาจะบอกผลลัพธ์ของมัน ให้นักสังคมวิทยาหาทางแก้ไข ประชนในอาเซียนต้องปรับตัวทุกคน

AEC(581.6)+6 ประชากร 3,326.7 ล้านคน มิติในการบริหารจัดการตลาดของเขตเศรษฐกิจที่มีประชากร 3,326.7 คนจะมีความซับซ้อนมากแน่นอน สินค้าทดแทนจะมีมากขึ้น ผู้ค้าหน้าใหม่เข้ามามากขึ้น คู่ค้า/คู่แข่งในธุรกิจเดิมจะมีมากขึ้น อำนาจต่อรองของลูกค้าจะเปลี่ยนไป อำนาจต่อรองของผู้ขาย/ผู้ผลิตจะเปลี่ยนไป การกำหนดเป้าหมายที่ต้องการเป็นสิ่งจำเป็นมากขึ้น

SMART action plans S : Synergistic/ทำงานแบบเสริมแรงกัน M : Motivation/สร้างแรงจูงใจต่อกัน A : Achievement-Oriented/ให้ทุกคน มุ่งสู่การบรรลุผลสำเร็จ R : Rapid/รวดเร็ว/เวลา T : Technology Power/มีความรู้เรื่อง เทคโนโลยีดี tripleP@work

จะบริหารองค์กรให้ SMART ผู้บริหารจึงต้องลำดับความสำคัญก่อนว่าอะไรคือ สิ่งที่องค์กรต้องทำในวันนี้เพื่อการบรรลุเป้าหมายในอนาคต เป้าหมาย วิธีการ ต้องการเพิ่มผลผลิต และเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต การวางแผน กำหนดเป้าหมาย และการเมินผล ต้องการให้องค์กรเจริญเติบโต พัฒนานวัตกรรม ให้มีทำงานร่วมกัน และมีศีลธรรม พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ต้องการควบคุม และสร้างความมั่นคง บริหารข้อมูล และการประสานงาน

Context สภาพแวดล้อมขององค์กร โครงสร้างองค์กร ปรับตัว/flexible structure ควบคุม/control/stable structure จุดสนใจ เน้นภายใน/internal focus เน้นภายนอก/external focus ความถูกต้อง/ความถูกใจ Org’s STEP Quinn's Model tripleP@work

THE Competitive VALUES MODELs โครงสร้างแบบยืดหยุ่น วิธีการ: พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เป้าหมาย: ให้มีทำงานร่วมกัน และมีศีลธรรม วิธีการ: ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรม เป้าหมาย: ต้องการให้องค์กรเจริญเติบโต วิธีการ: บริหารข้อมูล สารสนเทศ และการประสานความร่วมมือ เป้าหมาย: ต้องการควบคุม และสร้างความมั่นคง วิธีการ: การวางแผน กำหนดเป้าหมาย และประเมินผล เป้าหมาย:ต้องการเพิ่มผลผลิต และเพิ่มประสิทธิภาพการผผลิต A 1 2 ให้ความสำคัญกับภายใน ให้ความสำคัญกับภายนอก B โครงสร้างแบบควบคุม tripleP@work

กระบวนทัศน์แห่งความสำเร็จ AEC Perspective 20/08/55 กระบวนทัศน์แห่งความสำเร็จ เป้าหมายที่ต้องการ ทิศทาง/วิธี ทัศนคติ การอุทิศตน แผนปฏิบัติการ ใช้ทรัพยากรทุกอย่าง ที่มีให้เกิดประสิทธิผล ความคิด ความรู้ สมรรถนะ ประสบการณ์/ทักษะ และบุญวาสนา รายได้ ความมั่น(BCG.pptx) ความสุข Somboon Boonyavanich

กระบวนทัศน์แห่งความสำเร็จ ความสัมพันธ์ภายนอก ความสัมพันธ์ภายใน สิ่งที่มองไม่เห็น สิ่งที่มองเห็น ระมัดระวังใน การบริหารการเงิน (Conservative Financing) ความรู้สึกไวต่อ สภาพแวดล้อม (Sensitivity to the environment) ความสำเร็จ ร่วมงานกับผู้อื่นได้ และยังรักษาจุดเด่นได้ (Cohesion and Identity) เปิดใจยอมรับ ความคิดเห็น (tolerance)