ผู้เข้าร่วมสัมมนา รวม ๒๐๕ คน สัมมนาโครงการการจัดการเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง วันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ผู้เข้าร่วมสัมมนา รวม ๒๐๕ คน ประกอบด้วย ๑. จากสำนักงานเกษตรจังหวัด ๔๕ จังหวัด จังหวัดละ ๓ คน - เกษตรจังหวัด - หัวหน้ากลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต - นักวิชาการที่รับผิดชอบงานบริหารศัตรูพืชจังหวัด ๒. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร ๕ เขตๆ ละ ๒ คน - ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขต - นักวิชาการที่รับผิดชอบงานบริหารศัตรูพืชเขต ๓. ศูนย์บริหารศัตรูพืช ๗ ศูนย์ๆละ ๒ คน - ผู้อำนวยการศูนย์บริหารศัตรูพืช - นักวิชาการผู้รับผิดชอบงานเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
เนื้อหาสัมมนา ๑.บรรยาย เรื่อง การใช้ศัตรูธรรมชาติควบคุมเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย ดร.อัมพร วิโณทัย นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ และนางประภัสสร เชยคำแหง นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ สำนักวิจัยและพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร เรื่อง การจัดการระบบปลูกมันสำปะหลังเพื่อควบคุมเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย ดร.โอภาษ บุญเส็ง นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ ศูนย์วิจัยพืชไร่ จังหวัดระยอง กรมวิชาการเกษตร
๒.ชี้แจงโครงการ กิจกรรมและงบประมาณโครงการการจัดการเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง ปี ๒๕๕๔ โดยนางวัชรีพร โอฬารกนก ผู้อำนวยการส่วนบริหารศัตรูพืช กรมส่งเสริมการเกษตร การวิจัยแบบ R2R โครงการการจัดการเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง ปี ๒๕๕๔ โดยนางสุกัญญา อธิปอนันต์ ผู้อำนวยกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร การจัดสรรสารเคมี โดย นายศักดา ศรีนิเวศน์ นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร
การรายงานพื้นที่ระบาด และแบบรายงาน โดย นายกิตติศักดิ์ จันทสังข์ นักวิชาการ เกษตรชำนาญการ สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร แบบรายงานต่างๆที่ใช้ในการรายงานในกิจกรรมสนับสนุนสานเคมีแช่ท่อนพันธุ์ นางสาวจุฬาภรณ์ นกสกุล นักวิชาการเกษตรเกษตรปฏิบัติการ สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร
๓. .ให้นโยบาย อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ให้นโยบายการรายงานพื้นที่ระบาด -รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรฝ่ายบริหาร ให้นโยบายแนวทางการ ดำเนินโครงการการจัดการเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง ปี ๒๕๕๔ -รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรฝ่ายวิชาการ ให้นโยบายหลักเกณฑ์ การสนับสนุนสารเคมีแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง โครงการจัดการ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง ปี๒๕๕๔
ผลที่ได้รับจากการสัมมนา ๑.ผู้ร่วมสัมมนาได้รับทราบเนื้อหาวิชาการด้านการควบคุมเพลี้ยแป้ง มันสำปะหลัง ๒.การบริหารจัดการโครงการ โดยวิธีบูรณาการเทคโนโลยี (IPM) ได้แก่ - การใช้ศัตรูธรรมชาติ ๓.ผู้ร่วมสัมมนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ในการปฏิบัติงานด้านการจัดการเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังระหว่างผู้ร่วมสัมมนา - การเขตกรรม - การใช้สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์ - ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
๔.ทราบแบบรายงาน และวิธีการรายงานพื้นที่ระบาดของเพลี้ยแป้ง มันสำปะหลังที่ถูกต้องและเป็นไปในแนวทางเดียวกัน ๕.ผู้ร่วมสัมมนาทราบหลักเกณฑ์การสนับสนุนสารเคมีแช่ท่อนพันธุ์ มันสำปะหลัง ก่อนปลูกตามโครงการการจัดการเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง