งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
อัมพร วิโนทัย สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร 2 เมษายน โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพ

2

3 เพลี้ยแป้งมันสำปะหลังชนิดสีชมพู

4

5 การแพร่กระจายตัว

6 การแพร่กระจายตัว

7 ความเสียหาย

8

9

10 ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ แมลงช้างปีกใส: ตัวอ่อน

11 ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ
ผีเสื้อ Spalgis epius: หนอน

12 ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ ผีเสื้อ Spalgis epius: ดักแด้

13 ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ ผีเสื้อ Spalgis epius: ตัวเต็มวัย

14 ด้วงเต่าตัวห้ำ Brumoides sp.
ระยะไข่ 5.63 วัน ตัวอ่อนมี 5 วัย ระยะตัวอ่อน วัน ระยะดักแด้ 6.00 วัน ระยะตัวเต็มวัย วัน ระยะไข่ - ตัวเต็มวัย 43 วัน ตัวเต็มวัยกินเพลี้ยแป้ง ตัว/วัน ตลอดชีวิตตัวเต็มวัย 1 ตัวกินเพลี้ยแป้ง 783 ตัว

15 ด้วงเต่าลายหยัก ด้วงเต่าสีส้ม
ด้วงเต่าลายหยัก ด้วงเต่าสีส้ม ปริมาณเพลี้ยแป้งที่กิน เพศผู้ 7.93 ตัว/วัน เพศเมีย 6.77 ตัว /วัน เพศผู้ 9.91 ตัว/วัน เพศเมีย 8.23 ตัว /วัน

16 แตนเบียน Acerophagus sp.

17 ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ

18 ศัตรูธรรมชาติที่พบในประเทศ

19

20 ความเสียหายในแอฟริกา

21 ความเสียหาย ยอดหงิก ผลผลิตลดลงมากถึง 80% ขาดแคลนท่อนพันธุ์
ผลผลิตเฉลี่ย 1.28 ตัน/ไร่

22 วงจรชีวิตเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู ไม่มีเพศผู้ ทุกตัวเป็นเพศเมีย วางไข่ได้เมื่อเป็นตัวเต็มวัย

23 คุณลักษณะทางชีววิทยาของเพลี้ยแป้งสีชมพู
พันธุ์ อัตราการขยายพันธุ์ ใน 1 ชั่วอายุ (Ro ) ชั่วอายุ (TC ) Bitter, improved, resistant 357.44 39.80 Bitter, local, susceptible 467.91 40.21 Sweet, local, susceptible 414.68 37.67

24 ขั้นตอนการนำเข้า ขอ Import Permit นำเข้าศัตรูธรรมชาติ
ทดสอบความปลอดภัยในการนำมาใช้ ในห้องปฏิบัติการกักกัน สรุปผลการศึกษา เสนอกรมวิชาการเกษตร

25 ขั้นตอนการนำเข้า (ต่อ)
ขอ Release Permit เพาะเลี้ยงเป็นปริมาณมาก นำออกปล่อยในภาคสนาม ประเมินผลโครงการ รายงานกรมวิชาการเกษตร

26 แตนเบียนเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู
เพศเมีย

27 เพศผู้

28 เป็นตัวห้ำ

29 เป็นตัวเบียน ระยะเวลาตั้งแต่วางไข่ – มัมมี่ = 9 – 10 วัน
ระยะเวลาตั้งแต่วางไข่ – มัมมี่ = 9 – 10 วัน วางไข่ – ตัวเต็มวัย = 17 – 21 วัน เป็นตัวเบียน

30 ปลูกมันสำปะหลัง: ใช้ต้นมันอายุอย่างน้อย 45 วัน

31 เลี้ยงเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู: เพลี้ยอายุอย่างน้อย 21 วัน
เลี้ยงเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู: เพลี้ยอายุอย่างน้อย 21 วัน

32 การเลี้ยงแตนเบียน

33

34 การเพาะเลี้ยงบนผลฟักทอง: ใช้ได้ดีเมื่อมีเพลี้ยในไร่มาก ๆ

35 เก็บยอดมันสำปะหลัง ที่มีเพลี้ยแป้งจากในไร่ นำมาวางบนตะแกรง
ซ้อนทับด้วยฟักทอง ทิ้งไว้ 5-7 วัน เพลี้ยจะย้ายจากยอดมันมาอยู่บนฟักทอง

36

37

38

39

40

41

42 การปล่อยในแปลงทดสอบ

43 เก็บยอดมันสำปะหลังที่มีเพลี้ยแป้ง จากแปลงที่ปล่อยแตนเบียนแล้ว 1 เดือน
การสุมยอด เก็บยอดมันสำปะหลังที่มีเพลี้ยแป้ง จากแปลงที่ปล่อยแตนเบียนแล้ว 1 เดือน

44 การสุมยอด: นำมากองรวมกันในมุ้ง

45 การสุมยอด: จะดูดเก็บแตนเบียนได้ในวันรุ่งขึ้น

46 การสุมยอด

47 จำนวนแตนเบียนที่ได้จากการสุมยอด 50 ยอด
วัน/เดือน/ปี เพศเมีย (ตัว) เพศผู้ (ตัว) รวม (ตัว) 6 เม.ย. 53 640 1,840 2,480 8 เม.ย. 53 1,790 1,990 3,789 10 เม.ย. 53 1,055 2,355 3,510 12 เม.ย. 53 650 1,300 14 เม.ย. 53 700 1,100 1,800 รวม 4,944 7,935 12,879 จำนวนแตนเบียนเฉลี่ยต่อยอด 257.6

48 การประเมินผล: ดูจากการปรากฎตัว

49 การประเมินผล

50 การประเมินผล: ดูจากยอดที่แตกออกมาใหม่

51

52

53 การส่งมอบโดยหน่วยเคลื่อนที่เร็ว

54

55 การส่งมอบทางเครื่องบินเล็ก

56


ดาวน์โหลด ppt การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google