ทิศทางการจัดสรร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปี 2551

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
งบประมาณ ปี 2551 ขอไป 2,139 บ / ปชก ได้มา 2,100 บ / ปชก สปสช. สำนักงบประมาณ 97,600 ล้านบาท หักเงินเดือน 25,400 ล้านบาท 72,200 ล้านบาท.
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
กรกฎาคม 2556 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
Research Mapping.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
เป้าหมายการให้บริการและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
รายงานความคืบหน้า การพิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหา การจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงานของ บุคลากร กลุ่มประกันสุขภาพ.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปีงบประมาณ 2557 “ประเด็นที่แตกต่างจากปีงบประมาณ 2556” โดย นพ.สุธนะ เสตวรรณา รองผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต.
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
แนวทางการปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่องการให้สิทธิ(คืนสิทธิ)ขั้นพื้นฐานด้านสาธารสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ หิรัญญา ปะดุกา กลุ่มประกันสุขภาพ.
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
หลักในการทำงานของ ปลัดกระทรวง สาธารณสุข นายแพทย์ณรงค์ สห เมธาพัฒน์
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2558
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
เรียนรู้ระบบหลักประกันสุขภาพ
มติคณะอนุกรรมการบริหารงานหลักประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 มกราคม 2557 เรื่อง การบริหารจัดการงบ OP / PP Basic Service จากหน่วยบริหารประจำ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการจัดสรร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปี 2551 การประชุมหัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั่วประเทศ นพ.วิทยา ตันสุวรรณนนท์ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและแผน สปสช.

แนวทางเบื้องต้น เน้นการกระจายงบกองทุนแก่ระบบบริการสุขภาพในพื้นที่ต่างๆ ให้สอดคล้องกับความจำเป็นด้านสุขภาพ เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดสรรงบกองทุนสำหรับการบริการ ที่มีค่าใช้จ่ายสูง และโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของประเทศ เพื่อให้ประชาชนเข้าใช้บริการได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม สร้างเสริมการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการจัดให้มีบริการสาธารณสุข เพื่อแก้ปัญหาของชุมชน จัดสรรงบประมาณให้ถึงหน่วยบริการอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรม

งบประมาณปี 2551 ในปี 2551 ขอตั้งงบประมาณ 2,139 บ/ปชก ได้รับ 2,100 บ/ปชก ผู้มีสิทธิ เป็นเงิน 97,600 ลบ. หักเงินเดือนภาครัฐ 25,400 ลบ. คงเหลืองบกองทุนที่ใช้จัดสรร 72,200 ลบ. งบรักษาโรคเอดส์ ได้รับเพิ่มเติม 4,400 ลบ. งบประมาณที่ได้รับยังไม่ครอบคลุมโรคเรื้อรังบางโรค เช่น การล้างไตในผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง การปลูกถ่ายอวัยวะ

บริการผู้ป่วยนอก จัดสรรแบบเหมาจ่ายรายหัว (ปรับตามโครงสร้างอายุและจำนวนการใช้บริการ = 90:10) เสนอให้ใช้อัตราจัดสรรงบ OP ปี 51 เท่ากับอัตราปี 50 (~ 645 บ/ปชก) จัดสรรเพิ่มเติมต่างหากสำหรับการบริการผู้ป่วยนอก ในรายการบางประเภทที่มีค่าใช้จ่ายสูง ได้แก่ ยารักษาโรคมะเร็ง อุปกรณ์ทางการแพทย์ การตรวจวินิจฉัย หัตถการพิเศษทางโรคหัวใจ

บริการผู้ป่วยใน จัดสรรแบบ global budget ในระดับกองทุนเขต งบประมาณกองทุนเขตปรับตามโครงสร้างอายุและจำนวนการใช้บริการ (70:30) เสนอให้ใช้ DRG version 4 ในการจ่ายชดเชย เพื่อให้สะท้อนต้นทุนที่เหมาะสมยิ่งขึ้น คาดการณ์อัตราจ่าย ประมาณ 8,000 – 9,000 บ/RW ขึ้นกับกองทุนเขต จัดสรรเพิ่มเติมต่างหากสำหรับอุปกรณ์ทางการแพทย์บางประเภทที่มีราคาสูง

การเปลี่ยนแปลงจากการใช้ DRG V4.0 RW ทั้งหมด (IP normal + AE + HC) เพิ่มขึ้น ~ 8% เมื่อเทียบกับ DRG version 3.0 ตัวอย่างการเปลี่ยน DRG ผู้ป่วยเด็กแรกเกิดน้ำหนักน้อย RW 1.5 เป็น 7.6 ผู้ป่วยผ่าตัดเปิดสมองจากอุบัติเหตุ RW 5.2 เป็น 7.7 ผู้ป่วยผ่าตัดไขสันหลัง RW 6 เป็น 8.3

บริการค่าใช้จ่ายสูง เสนอให้ใช้ DRG version 4 ในการจ่ายชดเชย ปรับรายการที่มีค่า RW > 6 ขึ้นไป จัดเป็นบริการค่าใช้จ่ายสูง ประกันอัตราการจ่ายชดเชย ประมาณ 9,000 บ./RW (ลดลงจากปี 50 เนื่องจากจำนวน RW/case เพิ่มขึ้นมาก โดยเฉพาะกรณีโรคค่าใช้จ่ายสูง) เสนอให้รวมกองทุน IP-HC เข้ากับกองทุน IP normal ในระดับเขต เนื่องจากคาดการณ์ว่าอัตราจ่าย IP normal จะใกล้เคียงกับ IP-HC

งบประมาณสำหรับการบริหารจัดการโรคเฉพาะ มะเร็งเม็ดเลือดขาวและมะเร็งต่อมน้ำเหลือง ผ่าตัดหัวใจ ต้อกระจก ปากแหว่งเพดานโหว่ ฮีโมฟีเลีย ผ่าตัดโรคลมชัก การรักษาเร่งด่วนในโรคหลอดเลือดสมองตีบ นำร่องโรคไตเรื้อรัง เบาหวาน (งบ PP)

บริการส่งเสริมป้องกัน บริการสำหรับประชากรไทยทั้งหมด = 63.131 ล้านคน คิดเป็น 186.27 บาทต่อประชากรไทยทั้งประเทศ ปรับเปลี่ยนการส่งเสริมป้องกันแบบ vertical program ที่ดำเนินการในระดับกรม มามุ่งเน้นในระดับจังหวัด ปรับสัดส่วนงบประมาณให้มีการบริหารแบบบูรณาการเพิ่มขึ้น โดยเน้นการบริหารระดับจังหวัดเป็นหลัก เพิ่มบทบาทการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองท้องถิ่นโดยเพิ่มพื้นที่ที่เข้าร่วมในกองทุนตำบล

(ร่าง) กรอบการบริหารงบ PP ปี 2551 คำนวณจาก 253.01 บาทต่อปชก.สิทธิ UC ที่จำนวนปชก.UC 46.477 ล้านคน PP capitation (186.27บาทต่อหัว) 63.131 ล้านคน PP Vertical program (14.69) ระดับประเทศ PP Community (37.50) ระดับชุมชน PP Facility (5 กิจกรรมหลัก) (82.43) ระดับ CUP PP Area based (51.63) ระดับพื้นที่ กองทุนตำบล จังหวัดจัดสรรให้ Cup + PCU (เฉพาะ ปชก.พื้นที่ที่ไม่มีกองทุนตำบล) Provincial Regional กรม Cup จังหวัดจัดสรรให้ Cup 5 กิจกรรมหลัก ได้แก่ ANC, PNC, FP, EPI ทุกช่วงอายุ, อนามัยเด็กเล็ก

บริการการแพทย์ฉุกเฉิน มีการขยายระบบบริการครอบคลุมทุกจังหวัด โดยศักยภาพบริการเพิ่มมากขึ้น จากการพัฒนาระบบในระยะที่ผ่านมา เน้นให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดบริการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ การจัดงบแบ่งเป็นการจ่ายค่าบริการและพัฒนาระบบ ในปี 2551 เพิ่มงบประมาณเพื่อรองรับการใช้บริการที่เพิ่มจำนวนขึ้นมาก

บริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ การใช้งบประมาณ แบ่งเป็น 4 ด้าน ชดเชยค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยและบริการฟื้นฟู พัฒนาระบบบริการในหน่วยบริการ พัฒนาศักยภาพคนพิการและผู้เกี่ยวข้อง ตรวจประเมิน/จดทะเบียนคนพิการ เพิ่มบทบาทให้เขตในการสนับสนุนงบชดเชย กายอุปกรณ์

งบลงทุนเพื่อการทดแทน งบลงทุนทั่วไป เสนอให้จัดสรรตามสัดส่วนของงบ OP-IP OP คิดตามจำนวนประชากร IP คิดตาม RW งบ Primary Care งบ Excellent center โรคหัวใจ โรคมะเร็ง อุบัติเหตุ

งบพื้นที่ทุรกันดาร พื้นที่พิเศษ และ CF จัดสรรเพิ่มเติมให้หน่วยบริการสังกัด สป.สธ. ในด้าน ค่าตอบแทนและค่าดำเนินการในพื้นที่กันดาร ค่าดำเนินการสำหรับ CUP และ PCU ที่มีประชากรเบาบาง พื้นที่ชายแดนและเสี่ยงภัย CF

เงินช่วยเหลือเบื้องต้น ม.41 และผู้ให้บริการ เงินช่วยเหลือเบื้องต้น ม.41 ใช้จากงบคงเหลือของปีก่อนๆ เงินช่วยเหลือเบื้องต้นผู้ให้บริการ = 0.40 บ/ปชก = 18 ล้านบาท

งบสนับสนุนตามผลการประเมินด้านคุณภาพ จัดสรรแบบบูรณาการ ตามผลการประเมินทั้งในด้านคุณภาพการรักษาพยาบาล การส่งเสริมป้องกันโรค การพัฒนาระบบข้อมูล

การหักเงินเดือนปี 2551

รูปแบบการหักเงินเดือนปี 2551 สำนักงบประมาณหักเงินเดือนหน่วยบริการสังกัด สป.สธ. ในภาพรวมเท่ากับ 60% ของเงินเดือนบุคลากร เป็นเงิน 23,540 ลบ. (หักเงินเดือนเพิ่มขึ้นจากปี 50 = 5.7%) ปัญหาในการกำหนดวิธีการหักเงินเดือน หน่วยบริการรัฐ สังกัด สป.สธ. หน่วยบริการรัฐ นอกสังกัด สป.สธ. (มหาวิทยาลัย กรมการแพทย์ เทศบาล)

ประเด็นอื่นๆ การจัดสรรสำหรับหน่วยบริการสังกัด สป.สธ. กำหนดให้หน่วยบริการได้รับงบกองทุนไม่น้อยกว่าปี 50 เสนอให้กันเงินในระดับจังหวัด โดยมีกรอบที่ชัดเจนขึ้น เช่น กำหนดว่าไม่เกินกี่ % ของงบที่จัดสรรให้กับหน่วยบริการ รพศ. บางแห่งไม่รับเป็นหน่วยบริการประจำ แต่ขอรับดูแลเฉพาะกรณี HC เนื่องจากเข้าใจผิดว่าไม่ต้องหักเงินเดือน สำหรับหน่วยบริการรัฐนอกสังกัด สป.สธ. เสนอให้หักเงินเดือนในอัตรา 25% ของรายได้ OP-IP-PP-HC

ขั้นตอนการพิจารณาเกณฑ์การบริหารกองทุน คณะกรรมการบริหาร สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ คณะทำงานร่วม สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และกระทรวงสาธารณสุข (เฉพาะงบกองทุนในส่วนหน่วยบริการสังกัด สป.สธ.) คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

ขอขอบคุณ