การพัฒนาระบบการเรียนทางไกลให้อยู่ในรูปแบบของเทคโนโลยีสารสนเทศ Application of Information Technology System into Distance Learning Presented by: Sunadda.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
Advertisements

เรื่องการสร้างงานนำเสนอด้วยโปรแกรมPorer point2007
ICT & LEARN.
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
การทำทบทวนวรรณกรรมหรือวรรณกรรมปริทัศน์
การพัฒนาระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น Development of Customer Relationship Management System for Khon Kaen University นายจักรพงษ์
กระบวนการวิจัย(Research Process)
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
Thesis รุ่น 1.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
เรื่องการสร้างงานนำเสนอด้วยโปรแกรมPorer point2007
เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
การเขียนโครงร่างการวิจัย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
กรณีศึกษา : งานบริหารและธุรการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การพัฒนาระบบค้นคืนเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับงานสารบรรณ
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ข้อมูล & สารสนเทศ ข้อมูล ( Data) - ข้อเท็จจริงที่ได้จากการ สังเกตุ หรือสำรวจความเป็นไปของเหตุการณ์ ของโลกเพื่อให้เกิดความเข้าใจในเหตุการณ์ นั้น สารสนเทศ.
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
Information Technology
SYSTEM ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ
เรื่องเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน
CoP Community Of Practice โดย สุภาภัดต์ ต๊ะคำ. ความคิด ทำอะไร วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่ได้รับ.
การเขียนรายงานการวิจัย
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
การพัฒนาระบบการเรียนทางไกลให้อยู่ในรูปแบบของ ระบบสารสนเทศ
การประเมินผลในวิจัยชั้นเรียน
วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา โดย นางสาวเพลินจิตร์ กันหาป้อง
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
กระบวนการวิจัย Process of Research
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
ข้อมูลและสารสนเทศ DATA AND INFORMATION ง41101 การงานพื้นฐานอาชีพ 1 ครูมาโนชญ์ แสงศิริ โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิจิตร.
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
LOGO ศึกษาการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศของบุคลากร ในวิทยาลัยเทคนิคหนองคาย A study to used information technology of personnel at Nongkhai.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ชื่องานวิจัยในชั้นเรียน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
การพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพโดยใช้ กระบวนการมีส่วนร่วมในเครือข่ายสังคม ออนไลน์ (Health Information System Development With Participation By Social Networking)
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
โดย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย.
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบการเรียนทางไกลให้อยู่ในรูปแบบของเทคโนโลยีสารสนเทศ Application of Information Technology System into Distance Learning Presented by: Sunadda Sa-nguandet

ที่มา และความสำคัญ

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ระบบการเรียนทางไกล ด้านเทคโนโลยี ระบบสารสนเทศ ระบบการเรียนแบบอีเล็กทรอนิกส์ (E- learning) หลักการจัดการความรู้

ระบบการเรียนทางไกล ดร.เกษม สุวรรณกุล ระบบการศึกษาทางไกลนับว่าเป็นสิ่งใหม่ในระบบ การศึกษาขั้นสูงของประเทศ และยิ่งในปัจจุบันเทคโนโลยีด้านดาร ติดต่อสื่อสารมีความเจริญก้าวหน้าด้วยแล้วก็ยิ่งทำให้เกิดเทคนิคใหม่ ๆ ที่ เข้ามาประยุกต์ใช้กับระบบการศึกษานี้ ซึ่งจะทำให้เกิดประสิทธิภาพในการ ทำงานมากยิ่งขึ้น อาจารย์สุมาลี สังข์ศรี การศึกษาทางไกลเป็นวิธีการในการจัดการศึกษา วิธีการหนึ่งซึ่งเป็นการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง การศึกษาทางไกล (distance education) หรือ การเรียน ทางไกล(distance learning) หมายถึง ระบบการศึกษาที่ ผู้เรียนและผู้สอนอยู่ไกลกันทั้งสถานที่และเวลา แต่สามารถทำให้เกิดการ เรียนรู้ได้โดยใช้เทคโนโลยีเป็นตัวเชื่อมโยงการเรียนการสอน

การจัดระบบการเรียนทางไกล ยุคเริ่มแรกเป็นการเรียนการสอนทางไปรษณีย์ พัฒนาการสอนผ่านทางวิทยุกระจายเสียง การเรียนการสอนผ่านทางวีดีโอ และพัฒนาเป็น video conference การเรียนการสอนผ่านทางสื่ออีเล็กทรอนิกส์

เทคโนโลยี Technology

แนวคิดด้านเทคโนโลยี กรมเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา กล่าวว่า ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยการพัฒนา เครือข่าย ระบบคอมพิวเตอร์มีแนวโน้มในการพัฒนาอย่างรวดเร็วและ ต่อเนื่อง ทำให้มีการรับส่งข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ ได้สะดวกรวดเร็ว ทั่วโลก จนเปรียบเสมือนกับโลกที่ไร้พรมแดนอันมีผลในการ เปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการศึกษา อย่างรวดเร็ว Chen-Wo Kuo, Jiann-Min Yang, Quo-Ping Lin, และ Maiga Chang ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และ เทคโนโลยีการคมนาคมได้มีการเจริญเติบโตมากขึ้นเรื่อย ๆ ตั้งแต่ ศตวรรษที่ 20 ซึ่งในหลาย ๆ ประเทศ และไม่ว่าจะเป็นองกรธุรกิจ ต่างก็ให้ความสำคัญและศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับด้านเทคโนโลยีไม่ว่าจะ เป็นด้านการศึกษา, การสอน หรือด้านการอบรม เพื่อที่จะพัฒนา ความสามารถของตนเอง

วิวัฒนาการของเทคโนโลยีในประเทศไทย ศ.ดร.ศรีศักดิ์ จามรมาน และ กนกวรรณ ว่องวัฒนะสิน ได้แบ่งวิวัฒนาการของเทคโนโลยี ออกเป็น 5 ยุค คือ 1. ยุคลูกคิด 2. เครื่องเจาะบัตร 3. ยุคที่สำคัญที่สุดสำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศในประเทศไทย 4. การนำไมโครคอมพิวเตอร์เข้ามาที่ประเทศไทย 5. ยุคของ Internet

วิวัฒนาการของเทคโนโลยีในประเทศไทย ระบบออนไลน์ (pirun.ku.ac.th) 500,000 ปีที่แล้วมนุษย์มีการใช้สัญญาณและท่าทางสื่อสารกันและ จึงค่อย ๆ พัฒนาเป็นภาษา 5,000 ปีที่แล้วมนุษย์สามารถสร้างตัวหนังสือ และจารึกไว้ตามผนัง 500-800 ปีที่แล้วมนุษย์สามารถจัดพิมพ์หนังสือเพราะมีเทคโนโลยี ที่เข้ามาช่วยในการพิมพ์ และการสื่อสารที่เข้าใจมากขึ้น 100 กว่าปีที่ผ่านมาเริ่มมีการสื่อสารโดยมีการส่งข้อความเป็นเสียง ทางโทรศัพท์ 50 ปีที่แล้วมีการส่งภาพโทรทัศน์ และคอมพิวเตอร์ทำให้มีการใช้ สารสนเทศในรูปแบบข่าวสารมากขึ้น

ระบบสารสนเทศ Information system

แนวคิดด้านระบบสารสนเทศ อ.นิภาภรณ์ คำเจริญ กล่าวว่า สารสนเทศถือว่าเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่ง ขององค์กรเนื่องจากสารสนเทศจะช่วยให้การดำเนินงาน และการ ประสานงานแต่ละฝ่ายสามารถเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ และได้ ผลลัพธ์ตามที่องค์กรต้องการ รศ. ชุมพล ศฤงคารศิริ สารสนเทศ คือข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผล และถูกจัดให้อยู่ในรูปที่มีความหมาย และเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจ ของผู้รับ ผศ. ดร. ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ และผศ. ดร.ไพบูลย์ เกียรติโกมล การ ประกาอบการธุรกิจในปัจจุบันจะมีการแข่งขันเพื่อช่วงชิงความได้เปรียบ ในการแข่งขันอย่างรุนแรงปัจจัยหนึ่งที่ช่วยสร้างความได้เปรียบเหนือ คู่แข่งในธุรกิจประเภทเดียวกันคือ การมีระบบสารสนเทศที่สมบูรณ์

การเรียนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ E-learning

ความหมายของ e-learning ผศ. ดร.งามนิจ อาจอินทร์ และคณะ ระบบการเรียนการสอนใน ปัจจุบัน ได้มีการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนไปสู่ระบบการเรียน การสอนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-learning system) ซึ่งได้ เข้ามาช่วยในการถ่ายทอดความชำนาญและองค์ความรู้ไปสู่ผู้เรียน โดยมีระบบบริหารจัดการเรียนรู้เป็นองค์ประกอบสำคัญในการบริหาร จัดการเนื้อหา ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา สำนักบริหารงานการศึกษานอก โรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ กล่าวว่า E-learning สามารถจะ เป็นแนวทางหนึ่งซึ่งช่วยสร้างความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับ ประชาชนได้ เนื่องจากคุณสมบัติของ E-learning ทำให้ผู้เรียนเข้าถึงได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ลด ข้อจำกัดด้านเวลา และสถานที่

ความหมายของ e-learning (www.cs.buu.ac.th) e- Learning เป็นการนำไอ ทีไปใช้ในด้านการส่งเสริมประสิทธิภาพด้านการ เรียนการ สอน ใน หลากหลายรูปแบบ เช่น การนำมัลติมีเดียมาใช้เป็นสื่อการ สอนของครู/ อาจารย์ให้ นักเรียนเรียนรู้ค้นคว้าด้วยตนเอง ด้วย การเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเตอร์ เน็ตการเรียน ทางไกลผ่านดาวเทียม การนำไอทีมาใช้เพื่อการ เรียนการ สอน ของ e-Learning ในยุคปัจจุบัน

แนวคิดของระบบ e-learning Ming-Lang Tseng และ Ru-Jen Lin (อ้างอิงใน Shee และ Wang, 2008) การเรียนแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e- learning) เป็นเครื่องมือที่เหมาะสมที่ใช้เป็นสื่อการสอน สืบ เนื่องมาจากหลาย ๆ เหตุผล เช่น เป็นการลดต้นทุน, สถาบันสามารถนำ ข้อมูลที่มีอยู่กลับออกมาใช้อีกครั้ง, และนอกจากนั้นยังเป็นความเอื้อ ความสะดวกสบายให้แก่ผู้เรียน Rosenberg กล่าวไว้ว่า e-learning คือ เทคโนโลยีที่ต้อง ใช้โดยผ่านอินเตอร์เนตในการถ่ายโอนข้อมูลในการเรียนรู้ ซึ่งตั้งอยู่บน รากฐานสามประการคือ 1. E-learning คือเครือข่ายที่สามารถ ปรับเปลี่ยนข้อมูล (update) ได้ตลอดเวลา, สามารถดูข้อมูลเก่า ๆ ได้, และยังสามารถเก็บรักษาข้อมูลได้ นอกจากนั้น e-learning ยัง สามารถเผยแพร หรือแชร์ความรู้โดยผ่านทางเครื่องมือบางเครื่องมือ หรือผ่านทางเทคโนโลยีให้กับคนอื่น ๆ โดยไม่ปิดกั้น

แนวคิดของระบบ e-learning National Program: ได้ให้คำนิยามของ e- learning ไว้ว่ามันเป็นสื่อการเรียนรู้อย่างหนึ่งที่ทำให้ ผู้เรียนมีการเรียนรู้ที่ดีขึ้น และทำให้ครูมีสื่อการสอนที่ดีขึ้น เพราะโดยทั่ว ๆ ไปแล้ว e-learning ก็มีประโยชน์ใน หลาย ๆ ด้าน

ข้อดีของการเรียนการสอนแบบ e-learning 1. ความยืดหยุ่นและความสะดวก 2. เรียนได้ทันใจตามต้องการ 3. ผู้เรียนเป็นฝ่ายควบคุม

ข้อดีของการเรียนการสอนแบบ e-learning 4. รูปแบบมัลติมีเดีย 5. แหล่งทรัพยากรข้อมูล 6. ความทันสมัย 7. ช่วยเผยแพร่ผลงาน 8. เพิ่มทักษะด้านเทคโนโลยี

การจัดการความรู้ Knowledge Management

แนวความคิดเกี่ยวกับความรู้ ดร.กีรติ ยศยิ่งยง โลกยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ในปัจจุบัน (Knowledge-base Economy) ความรู้เป็น ทรัพย์สินที่จับต้องไม่ได้ แต่เป็นสิ่งที่มีค่าสำหรับองค์กร ดังนั้นองค์กรจึงจำเป็นต้องพัฒนาความรู้ให้โดดเด่นอันเป็น ต้นทุนที่สำคัญขององค์กรเพื่อความได้เปรียบเชิงการ แข่งขัน และเพิ่มคุณค่าและพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการ ใหม่เพื่อตอบสนองความต้องการและความพึงพอใจของ ลูกค้า

แนวความคิดเกี่ยวกับความรู้ Ryoko Toyama กล่าว่า การจัดการความรู้ หมายถึง การจัดการเพื่อเอื้อให้เกิดความรู้ใหม่ โดยใช้ความรู้ที่มีอยู่และ ประสบการณ์ของคนในองค์กรอย่างเป็นระบบเพื่อพัฒนานวต- กรรมที่จะทำให้มีความได้เปรียบเหนือคู่แข่ง Carla O’Dell และ Jackson Grayson กล่าว ว่า การจัดการความรู้เป็นกลยุทธในการที่จะทำให้คนได้รับ ความรู้ที่ต้องการภายในเวลาที่เหมาะสม รวมทั้งช่วยทำให้เกิด การแลกเปลี่ยนและนำความรู้ไปปฏิบัติเพื่อยกระดับขององค์กร

ประเภทของความรู้ Tacit Knowledge (ความรู้ซ่อนเร้น) ความรู้ที่อยู่ในตัว ของแต่ละบุคคล ที่เกิดจากประสบการ การเรียนรู้ หรือ พรสวรรค์ต่าง ๆ Explicit Knowledge (ความรู้เด่นชัด) ความรู้ที่เป็น เหตุเป็นผล สามารถรวบรวมและถ่ายทอดออกมาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น หนังสือ คู่มือ เอกสาร และรายงานต่าง ๆ

ขอบเขตและวิธีการวิจัย ในการทำวิจัยเรื่องการพัฒนาระบบสารสนเทศมหาวิทยาลัย Global University อยู่ภายใต้ขอบเขตและวิธีการวิจัยที่เกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ของ การวิจัย, ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาเชิงทฤษฎีและ/หรือเชิงประยุกต์, ขอบเขตและวิธีการวิจัย, วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย, การวิเคราะห์ข้อมูล , และสถานที่ใช้ในการดำเนินการวิจัยและรวบรวมข้อมูล

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อพัฒนาระบบการจัดการศึกษาทางไกลของมหาวิทยาลัย Global University ให้เป็นระบบการเรียนรู้ใน รูปแบบของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย เพื่อพัฒนาระบบการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยโดยมีการ แบ่งปันความรู้บนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น เพื่อให้มีระบบการเก็บข้อมูลที่ดี เพื่อป้องกันข้อมูลขององค์กร สูญหาย

ประโยชน์ที่ได้รับ ได้ความรู้เกี่ยวกับการทำระบบสารสนเทศทั้งในหลักทฤษฎี และ การนำมาใช้ งานวิจัยชิ้นนี้สามารถที่จะช่วยแก้ไขข้อผิดพลาดขององค์กรที่ เกิดขึ้นบ่อยครั้งให้หมดไป ช่วยให้องค์กรมีสื่อในการเรียนการสอนที่ทันสมัยมากยิ่งขึ้น ซึ่ง เป็นการประหยัดทั้งทรัพยากร และเวลาในการขนส่ง

ขอบเขตและวิธีการวิจัย เนื่องจากงานวิจัยในครั้งนี้ใช้เครื่องมือของเทคโนโลยีคือระบบ e-learning ที่จะเข้ามาเป็นตัวช่วยสร้างและพัฒนาระบบ การเรียนทางไกลของ Global University ให้ดีขึ้น ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่ต้องใช้ระบบ ISO 12207 เพื่อสร้างความ เป็นมาตรฐานให้กับระบบ e-learning

ขอบเขตและวิธีการวิจัย ขอบเขตด้านประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษา หรือสำรวจในครั้งนี้ได้แก่ ผู้บริหาร ของมหาวิทยาลัย Global University และนักเรียนที่เรียน ที่กำลังศึกษาอยู่กับทางมหาวิทยาลัย Global University แห่งประเทศ ขอบเขตด้านเนื้อหา การวิจัยในครั้งนี้เพื่อที่จะต้องการพัฒนาระบบการเรียนทางไกลของ มหาวิทยาลัย Global University ให้มีความเป็นสากลมาก ยิ่งขึ้น โดยใช้ระบบ E-learning เข้ามาเป็นส่วนช่วยเพื่อให้เกิด ความสะดวกสบายแก่ผู้เรียน และผู้สอนมากยิ่งขึ้น

วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้จะเป็นสำรวจจากการแจก แบบสอบถามสำหรับนักศึกษา 30 คน และผู้บริหารที่อยู่ในแต่ ละประเทศจำนวน 10 คน โดยการทำแบบสอบถามถึงความพึงพอใจของนักศึกษาในการเรียนผ่าน ระบบ e-learning จัดทำแบบสอบถามสำหรับผู้บริหารถึงความพึงพอใจ และความ สะดวกสบายต่อการตรวจสอบข้อมูลทางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

การวิเคราะห์ข้อมูล เนื่องจากมีการเก็บข้อมูลจากการแจกแบบสอบถามเพียงอย่าง เดียว จึงทำให้การวิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้เป็นการวิเคราะห์ ข้อมูลแบบเชิงปริมาณ

สถานที่ใช้ในการดำเนินการวิจัยและรวบรวมข้อมูล สถาบันพระคริสตธรรมสากล (Global University) ประเทศไทย 78/2 ม.14 ต.สุเทพ อ.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200

ระยะเวลาในการดำเนินงานวิจัย เดือนมีนาคม 2555 –กรกฏาคม 2555

Thank you