Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
Advertisements

การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
คณะกรรมการประกันคุณภาพฯ วจ
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การประชุมชี้แจงและกำหนด KPIs ระดับภาควิชา/หน่วยงานจัดการเรียนการสอน
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ฐานข้อมูลผลการดำเนินงาน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
ผลการประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2551 สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
“ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และการประกันคุณภาพการศึกษา” คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 31 พฤษภาคม 2552.
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ตามแผน มหาวิทยาลัยพายัพฉบับที่ 4 ปีการศึกษา เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ตามแผน มหาวิทยาลัยพายัพฉบับที่ 4 ปีการศึกษา
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
รายงานผลทางวาจา การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน มหาวิทยาลัยพายัพ วันที่ 5-7 กันยายน 2551.
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
1 องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดำเนินการ ได้คะแนน เท่ากับ 5.00 องค์ประกอบที่ 2 ภาระงานหลัก ได้คะแนนเท่ากับ 4.98 องค์ประกอบที่ 3.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
1.  The alignment with national plans.  The four missions of higher education institutions.  AU uniqueness and identities.  AU academic excellence.
2 มิถุนายน อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การตรวจสอบและประเมินระบบการ ประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ กรกฎาคม 2550 โดยคณะกรรมการตรวจสอบและ ประเมินระบบ การประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน.
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
KMS Knowledge Management System
การศึกษาภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
การศึกษาภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
CMU: UNIVERSITY OF EXCELLENCE
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
คณะกรรมการประกันคุณภาพฯ วจ.
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
หลัก สูตร คณะ สถาบั น 2 บัณฑิต 3 นักศึกษา 4 อาจารย์องค์ประกอบ 5 หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมินผู้เรียน 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1 การผลิตบัณฑิต 2.
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
แนวปฏิบัติที่ดีของ การประกันคุณภาพ การศึกษา. ที่องค์ประกอบ ผลการประเมิน ปี 52 ปี 53 ปี 54 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดำเนินการ
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
SELF-ASSESSMENT REPORT Department of Medicine. SAR Plan-Do-Follow-Evaluate-Improve.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Assignment 1 952704 : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย นำเสนอ อาจารย์พุทธวรรณ ขันต้นธง โดย อรพินท์ สอนไว 542132018

ที่มาและความสำคัญ    มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้ประกาศนโยบายประกันคุณภาพการศึกษาและ แนวปฏิบัติ ตั้งแต่วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2541 โดยมุ่งหวังจะจัดการศึกษาที่มี คุณภาพ และผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพตามปณิธานของมหาวิทยาลัย และความต้องการของสังคม เพื่อพัฒนาสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของภูมิภาคในอนาคต การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา เป็นงานที่ต้องอาศัยนโยบาย ที่ชัดเจน ความมุ่งมั่นของผู้บริหาร และการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกคน ในหน่วยงาน นอกจากนี้ในการดำเนินงานเรื่องการติดตามและประเมินผล การดำเนินงานของตนเองเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องทำอย่างต่อเนื่อง เพื่อนำผลมา ปรับปรุงและพัฒนางาน นั้นหมายความว่า หน่วยงานต้องมีการพัฒนาระบบฐานข้อมูล หรือระบบอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับการบันทึกข้อมูล การวิเคราะห์ ประมวลผล และรายงานผลข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ

วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี เริ่มเข้ารับการตรวจรับการประเมินประกันคุณภาพการศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา 2549 จนถึงปีการศึกษา 2553 โดยเกณฑ์การตรวจสอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยฯ ได้กำหนดเกณฑ์การประเมินตามแนวทางของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) โดยมี 9 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดำเนินงาน 2. การผลิตบัณฑิต 3. กิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา 4. การวิจัย 5. การบริการวิชาการแก่สังคม 6. การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม 7. การบริหารจัดการ 8. การเงินและงบประมาณ 9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา

ผลจากการตรวจรับทั้ง 9 องค์ประกอบ วิทยาลัยฯ มีตังบ่งชี้ที่ไม่บรรลุผล อยู่เกณฑ์คะแนนต่ำที่สุด อยู่ 2 ตัวบ่งชี้ คือ องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 1.23 คะแนน ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 0.00 คะแนน และคณะกรรมการตรวจการประกันคุณภาพการศึกษา ในปีการศึกษา 2553 ยังชี้ให้เห็นถึงจุดอ่อน 2 ข้อ คือ สัดส่วนของอาจารย์ที่จบการศึกษาระดับปริญญาเอกน้อย สัดส่วนของอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการน้อยมาก

จากผลการการตรวจรับฯ เป็นจุดเริ่มต้นของการนำไปวางแผนเพื่อปรับปรุงและพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจได้ ดังนี้ 1. วิทยาลัยฯ มีแผนการพัฒนาอาจารย์ให้มีคุณวุฒิให้จบการศึกษาถึงระดับปริญญาเอกได้อย่างไร มีสิ่งใดที่ต้องดำเนินการหลังอาจารย์เหล่านั้นจบการศึกษา ระดับปริญญาเอก ไม่เกินร้อยละ 30 ของงบรายรับ อาจารย์คุณวุฒิ ปริญญาเอก อัตรากำลังระดับปริญญาเอก งบประมาณ อัตรากำลัง งบประมาณ การพัฒนา อัตราพนักงานมหาวิทยาลัย (แผ่นดิน) แผนการพัฒนาอาจารย์ เมื่อไหร่ที่อาจารย์ต้องไปศึกษาต่อ อาจารย์ต้องไปศึกษาต่อสาขาอะไร การวิเคราะห์อัตรากำลัง (FTES, HCCH)

2. วิทยาลัยฯ มีแผนการส่งเสริม และสนับสนุนให้อาจารย์ได้ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการได้อย่างไร มีสิ่งใดที่ต้องดำเนินการหลังอาจารย์เหล่านั้นดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ไม่เกินร้อยละ 30 ของงบรายรับ อาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ งบประมาณค่าตอบแทนเงินประจำตำแหน่ง งบประมาณ การสนับสนุน อัตราพนักงานมหาวิทยาลัย (แผ่นดิน) แผนการพัฒนาอาจารย์ เมื่อไหร่ที่อาจารย์ต้องขอกำหนด ตำแหน่ง อาจารย์มีผลงานเพียงพอหรือยัง การวิเคราะห์อัตรากำลัง (FTES, HCCH)

โจทย์วิจัย วัตถุประสงค์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อการตัดสินใจ (Decision Support Systems : DSS) วัตถุประสงค์ - เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร งบประมาณ, อัตรากำลัง, การพัฒนา, (การศึกษา, ตำแหน่งทางวิชาการ) - เพื่อผลักดัน KPI ให้บรรลุผล - วิเคราะห์ความเสี่ยง และนำมาเป็นทางเลือกให้แก่ผู้บริหารในการตัดสินใจ ผลที่คาดว่าจะได้รับ มีระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อการตัดสินใจ KPI ตัวชี้วัดที่ 2.2 และ 2.3 บรรลุผล