โดย นางนวลใย วรรณเวช พยาบาลวิชาชีพ 7 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพัทลุง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
Advertisements

หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
รายละเอียดวิชา สัมมนา 1 หลักเกณฑ์ในการเลือกบทความ วิธีการเขียนบทคัดย่อ
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย ภัยแอบแฝงที่แก้ได้
THALASSEMIA 1 ตุลาคม 2552.
พ.ศ ลำดับการดำเนินงานในจังหวัดขอนแก่น คณะทำงานชี้แจงในที่ประชุม
ธาลัสซีเมีย ทำไมต้องตรวจ คืออะไร ตรวจแล้วได้อะไร สำคัญอย่างไร
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
แบบทดสอบ ธาลัสซีเมีย : การแปลผลตรวจ และวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
การดูแลผู้ป่วยเบาหวานครบวงจร ศูนย์แพทย์ชุมชนมะค่า
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
กลุ่ม 3 โรงพยาบาลชุมชนที่มีแพทย์ดำเนินการ
กลุ่ม 4 รพช.( ไม่มีแพทย์ ดำเนินการ ) นำเสนอโดย นางสมรัก ชักชวน รพ. ตรอน จ. อุตรดิตถ์
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรค ธาลัสซีเมีย
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
โครงการพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้ป่วย เด็กโรคธาลัสซีเมีย จังหวัดอุดรธานี
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ไข้หวัดใหญ่ 2009 โรงพยาบาลเชียงรายประชานุ เคราะห์.
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
การลดขั้นตอนบริการคลินิครักษาผู้มีบุตรยาก รพ ราชวิถี
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
Incidence of Thalassemia carrier in Thailand
Point of care management Blood glucose meter
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
ความสำคัญของปัญหา พันธุกรรมทางโลหิตวิทยา พบได้บ่อย ถ่ายทอดได้ ( autosomal recessive ) มีความรุนแรงมาก ตั้งแต่ตายในครรภ์ หรือตายหลังคลอด เป็นทุกข์ต่อจิตใจของผู้ป่วยและบิดา.
Thalassemia screening test
การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
แนวทางการคัดกรองและส่งต่อ ผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจ โรงพยาบาลศรีสะเกษ
การดำเนินงาน PMTCT (การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก)
การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
การให้คำปรึกษาแนะนำแก่หญิงตั้งครรภ์และคู่สมรส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นางนวลใย วรรณเวช พยาบาลวิชาชีพ 7 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพัทลุง ประสบการณ์การให้บริการปรึกษา ในงานป้องกันและควบคุมโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในโรงพยาบาลพัทลุง โดย นางนวลใย วรรณเวช พยาบาลวิชาชีพ 7 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพัทลุง

การป้องกันและควบคุมโรค Thalassemia ป้องกันเด็กเกิดใหม่เป็นโรค เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วย

การป้องกันเด็กเกิดใหม่เป็นโรค Health education ค้นหาคู่สมรสที่เป็นคู่เสี่ยง ให้คำปรึกษาทางพันธุกรรม ทำ PND มีกฎหมายรองรับการยุติการตั้งครรภ์ กรณีบุตรเป็นโรคร้ายแรง

เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วย โดยดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเลือดจางธาลัสซีเมีย ในหญิงตั้งครรภ์ ประชุมคณะกรรมการ MCH Board เพื่อหาแนวทางดำเนินงาน ประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่คณะกรรมการบริหารในการประชุมประจำเดือน จัดตั้งเครือข่ายดำเนินงาน อบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ที่ผิดชอบ ตรวจคัดกรองโรคธาลัสซีเมียด้วยวิธี OF, DCIP เจาะน้ำคร่ำส่งตรวจโครโมโซมที่ รพ.มอ. (พค. 2544) ระบบการส่งต่อที่ชัดเจน

เครือข่ายการดำเนินงานป้องกันและควบคุม โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย เครือข่ายการดำเนินงานป้องกันและควบคุม โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย สถานีอนามัย ส่งหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ทุกรายไปตรวจเลือด ที่ รพช. ให้คำแนะนำแก่คู่สมรส

เครือข่ายการดำเนินงานป้องกันและควบคุม โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย เครือข่ายการดำเนินงานป้องกันและควบคุม โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย รพช. ให้คำแนะนำแก่คู่สมรส Screening test ด้วยวิธี OF, DCIP ส่งเลือดที่ Screening test +ve ไปตรวจยืนยัน ติดตามคู่สมรสที่เป็นคู่เสี่ยงเพื่อส่งต่อ รพ.พัทลุง

เครือข่ายการดำเนินงานป้องกันและควบคุม โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย เครือข่ายการดำเนินงานป้องกันและควบคุม โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย รพ.พัทลุง ให้การปรึกษาแก่คู่สมรส Screening test เช่นเดียวกับ รพช. ตรวจ confirm ด้วย Electrophoresis และMicroclolum ส่งตรวจยืนยันโดยวิธี PCR ที่ รพ.มอ. (กรณีที่เป็น  - thal trait ทั้งคู่) ทำ PND โดยวิธี Amniocentesis ส่งน้ำคร่ำตรวจที่ รพ.มอ. ทุกวันอังคาร และวันพฤหัสบดี พร้อมส่งเลือดสามี และภรรยา Terminate of pregnancy กรณีเป็นโรคร้ายแรง

Clinical Guideline for Thalassemia Prevention and Control First ANC ตรวจ OF, DCIP/ Hct, MCV นัดสามีและภรรยา ฟังผลเลือดพร้อมกัน -ve +ve -ve เจาะเลือดสามี ตรวจ OF, DCIP/ Hct, MCV +ve -ve ส่งตรวจยืนยัน Hb typing +ve -ve Counseling คู่เสี่ยง (-thal ส่งตรวจ PCR ที่ รพ.มอ.) Refer normal ทำ PND abnormal ANC ตามปกติ Therapeutic Abortion

ขั้นตอนการตรวจวินิจฉัยธาลัสซีเมีย รพ.พัทลุง ANC CBC OF/ DCIP Positive Electro phoresis WARD / OPD CBC % HbA2,E hemolysate รพช. คลินิก / รพ.เอกชน CBC OF/ DCIP Positive แพทย์วินิจฉัย CBC : Hb, Hct, MCV, Rbc morphology

การวินิจฉัยธาลัสซีเมีย ผล Hct OF DCIP MCV Hb Typing ปกติ - ve >80 AA2, A2 < 3.5 %  - trait + ve <80 AA2, A2 > 3.5 % E – trait <80,>80 AE, E 25 – 35 %  - trait EE <80 ,>80 A2E, E > 80 % HbH disease + ve/- ve AA2H  - thal A2F, A2FA /E - thal EF, EFA การวินิจฉัยทารกในครรภ์ 1. gene โดยวิธี PCR จาก AF หรือ CVS หรือ Cord blood 2. Hb Typing จาก cord blood

เป้าหมายการค้นหาคู่เสี่ยง 1 – trait + 1 – trait Hb Bart’s hydrops fetalis - trait +  - trait  - Thalassemia - trait + HbE – Trait  - Thalassemia HbE

ทารกในครรภ์เป็นโรค(ราย) ยุติการตั้งครรภ์ (ราย) ข้อมูลการตรวจเลือดเพื่อคัดกรองพาหะโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย โรงพยาบาลพัทลุง ปีงบประมาณ (ปี) จำนวนรายใหม่(ราย) ตรวจคัดกรอง(ราย) คู่เสี่ยง (คู่) ทารกในครรภ์เป็นโรค(ราย) ยุติการตั้งครรภ์ (ราย) 2536-2538 5254 1373 15 2539 2133 804 13 3 2 2540 1185 745 11 2541 1743 658 2542 1694 699 5 1 2543 1702 781 9

ทารกในครรภ์เป็นโรค(ราย) ยุติการตั้งครรภ์ (ราย) ข้อมูลการตรวจเลือดเพื่อคัดกรองพาหะโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย โรงพยาบาลพัทลุง ได้ตรวจคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ทุกรายที่มาฝากครรภ์ ตั้งแต่ ปี 2544 ปีงบประมาณ (ปี) จำนวนรายใหม่(ราย) พบพาหะของโรค(ราย) โรค (ราย) ติดตามสามี(ราย) คู่เสี่ยง (คู่) ทารกในครรภ์เป็นโรค(ราย) ยุติการตั้งครรภ์ (ราย) 2544 1684 350 (20.78%) 5 190 (53.52%) 10 1 2545 1473 308 (20.90%) 7 176 (55.87%) 15 2 2546 1305 283 (21.69%) 164 (56.94%) 12 2547 1474 272 (18.45%) 170 (61.73%) 9 2548 1471 312 (21.21%) 4 185 (58.54%) 13 3 2549 1552 370 (23.94%) 206 (54.49%) 22 2550 ตค.-กค. 1355 280 (20.66%) 166 (58.86%) 21

ปัญหาการดำเนินงานป้องกันโรคธาลัสซีเมีย 1. ระบบการส่งต่อคู่เสี่ยงจาก รพช. มายัง รพท. ล่าช้า 2. ติดตามสามีมาตรวจไม่ได้ 3. มาฝากครรภ์เมื่ออายุครรภ์มาก 4. ขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมีย

ค่าใช้จ่ายต่อคน ต่อปี และค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อปี ในการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง ชนิดของ ธาลัสซีเมีย จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ (ราย) อายุขัยโดยเฉลี่ย(ปี) จำนวนผู้ป่วยที่มีชีวิตต่อชั่วคน (ราย) ค่าใช้จ่ายต่อคน ต่อปี (บาท) ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อปี (บาท) Hydrop fetalis 1,250 12,000 15,000,000  - thal major 625 10 6,250 9,400 58,750,000 /E - thal 3,250 30 97,500 4,950 48,262,000 HbH disease 7,000 60 420,000 500 21,000,000 รวม 12ม125 - 523,750 143,012,500

ตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย รายงานการตรวจคัดกรองโรคเลือดจางธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ โรงพยาบาลพัทลุง งบประมาณ(ปี) ฝากครรภ์ ตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย พบพาหะธาลัสซีเมีย พบเป็นโรค ตามสามีมาตรวจ พบคู่เสี่ยง (คู่) ทำ PNDพบทารกเป็นโรค ยุติการตั้งครรภ์ ทุก GA GA < 16 wk 2547 1474 1091 (74.01 %) (100 %) 272 (18.45 %) 214 (14.51 %) 5 (0.33 %) 201 (72.56 %) 168 (78.50 %) 9 2548 1471 1131 (78.88 %) 312 (21.21 %) 209 (14.20 %) 4 (0.27 %) 199 (62.97 %) 167 (79.90 %) 13 3 2549 1552 1197 (77.12 %) 370 (23.84 %) 220 (14.17 %) (0.32 %) 237 (63.20 %) 181 (82.27 %) 22 2550 (ต.ค.-ส.ค.) 1355 1090 (80.44 %) 280 (20.66 %) 197 (14.53 %) 2 (0.14 %) 215 (76.24 %) 165 (83.75 %) 21