การบริหารเศรษฐกิจ ภาคการผลิต การค้า และการลงทุน โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง วันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม 2550 ณ โรงแรมพูลแมนคิงเพาเวอร์กรุงเทพ
2 I.1997 – 1998: วิกฤตเศรษฐกิจ II.2001 – 2005: เร่งรัดการขยายตัว III.2006 – 2007: วิกฤตการเมือง IV.2008 : อนาคตหัวข้อ
3 I – 1998 : วิกฤตเศรษฐกิจ วิกฤตเศรษฐกิจทำให้การผลิต การค้า การลงทุนถดถอย
4 I – 1998 : วิกฤตเศรษฐกิจ (ต่อ) มาตรการฟื้นฟูและสร้างเสถียรภาพในปี การปรับโครงสร้างหนี้ การแก้ไขขบวนการล้มละลาย การฟื้นฟูระบบสถาบันการเงิน (มาตรการ 14 ส.ค. 1998) การสนับสนุนการลงทุนของภาคเอกชน (มาตรการ 10 ส.ค. 1999)
5 II : เร่งรัดการขยายตัว เร่งรัดการขยายตัวทางเศรษฐกิจโดยการ เพิ่มอุปสงค์ในประเทศ การส่งออก และการ ลงทุน (Dual-track policy) นโยบายและมาตรการเร่งรัดการขยายตัว นโยบายและมาตรการทางการค้า หาตลาดใหม่ สร้างเครือข่ายและพันธมิตรทางการค้า ผ่าน FTA
6 II : เร่งรัดการขยายตัว (ต่อ) นโยบายและมาตรการทางการผลิต อุตสาหกรรมเป้าหมาย OTOP การจัด Logistics การจัด Cluster จัดตั้งกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขัน ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานด้วยการให้หักรายจ่าย เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า จากเดิม 1.5 เท่า สนับสนุนให้ภาคเอกชนปรับเปลี่ยนเครื่องจักร - แฟชั่น - ยานยนต์ - อาหาร - ท่องเที่ยว - Graphics design
7 II : เร่งรัดการขยายตัว (ต่อ) นโยบายและมาตรการทางการลงทุน ภาคธุรกิจ / อุตสาหกรรม –สนับสนุนการฟื้นตัวของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ –ลดภาษีให้ธุรกิจที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ / MAI และ SMEs ภาคประชาชน /รายย่อย –กองทุนหมู่บ้าน –ธนาคารประชาชน –แปลงสินทรัพย์เป็นทุน เร่งรัดการแปรูปรัฐวิสาหกิจ
8 II : เร่งรัดการขยายตัว (ต่อ)
9 III : วิกฤตการเมือง เศรษฐกิจขับเคลื่อนโดยตัวเอง การส่งออกเป็น ภาคนำ 2006p 2007 Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3 GDP Growth (การใช้จ่าย) แหล่งที่มาของการขยายตัว อุปสงค์ในประเทศ การใช้จ่ายของครัวเรือน การใช้จ่ายของรัฐบาล การลงทุน การส่งออกสุทธิ ที่มา: สศช.
10 III : วิกฤตการเมือง (ต่อ) EXPORTS: USD Bil IMPORTS: USD Bil. Export = Import Japan NAF TA EU27 ASEA N Middle-East BRIC EXPORT: CAGR % (98-06) IMPORTS: CAGR % (98-06) AV = 9.8 AV. = 9.9 Japan NAFTA EUASEAN Middle-East BRIC โครงสร้างการส่งออก-นำเข้ารายภูมิภาค/ประเทศ
11 ขนาดเศรษฐกิจไทย ปี ขนาดของภาคการผลิตไทย GDP 5.4 ล้านล้านบาท ล้านบาท GDP 7.8 ล้านล้านบาท GDP 9.3 ล้านล้านบาท 62.2 ล้านคน64.8 ล้านคน65.8 ล้านคน GDP Per Capita e 7.9 หมื่นบาท 1.09 แสนบาท 1.25 แสนบาท (NOV.) International Reserves: USD Bil. ขนาดภาคการค้าระหว่างประเทศ ล้านล้านบาท
12 IV : อนาคต การบริหารนโยบายภาคการผลิต การค้า การ ลงทุน การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของเศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจจีน อินเดีย ตะวันออกกลาง เพิ่ม ความสำคัญยิ่งขึ้น ราคาพลังงานและวัตถุดิบเพิ่มขึ้น ระบบการค้าโลกเป็นกลุ่ม / ระบบ WTO มีปัญหา
13 IV : อนาคต (ต่อ) การเงินโลกไม่สมดุล ค่า US$ ตกต่อเนื่อง ความสำคัญของมาตรฐานความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเรื่องโลกร้อน การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญภายในประเทศ ความไม่เท่าเทียมทางรายได้และผลประโยชน์ การแข่งขันจากธุรกิจต่างประเทศ กระแสการบริโภคนิยม
14 IV : อนาคต (ต่อ) นโยบายและมาตรการสำคัญ สร้างความสามารถในการปรับตัวของธุรกิจ ลดค่าใช้จ่ายทาง Logistics (การขนส่ง การสื่อสาร การใช้ ICT) เพิ่มความสามารถการผลิตตามมาตรฐานต่างๆ เพิ่มช่องทางการผลิตแบบเครือข่าย ส่งเสริมการจัด Cluster ส่งเสริม SMEs / OTOP ทั้งการเงิน การผลิตและ การตลาด เจรจาข้อตกลงพิเศษทางการค้า สนับสนุนการค้า/การลงทุนในตลาดใหม่
15 IV : อนาคต (ต่อ) สร้างความสามารถในการปรับตัวของคนทำงาน การฝึกอบรมพิเศษ การจัดระบบหางานใหม่ จัดการภาคเกษตร จัดระบบน้ำเพื่อการเกษตร และบริหารสินค้าเกษตรให้เกิดความ สมดุลระหว่างอาหารและพลังงาน ปฏิรูปภาคเกษตรที่อ่อนไหวต่อการแข่งขันจากต่างประเทศ จัดระบบการลงทุนและการทำงานของต่างด้าวในภาค บริการ สร้างความมั่นคงทางพลังงานด้วยมาตรการการค้าและ การลงทุน
16 IV : อนาคต (ต่อ) Models of Globalization Hegemonic Cluster Universal Globalization– Localization ?