นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จังหวัดตราด ผลการเฝ้าระวังปี 2555.
Advertisements

เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
รู้จักกัน ผ่านชื่อย่อ
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในทัณฑสถานหญิงจังหวัดเชียงใหม่
กรมอนามัย กับ ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ
8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
Reproductive Health for PHA
สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
แนวทางการสนับสนุนการจัดบริการป้องกัน เพื่อส่งเสริมสุขภาพ สำหรับกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ นายแพทย์สรกิจ ภาคีชีพ ผู้จัดการ กองทุนเพื่อบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี มกราคม 2555.
ปี2554 หญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน % มัธยฐาน ไมโครกรัมต่อลิตร สสจ. อุดรธานี ; 2554,2555 ผลการตรวจปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ เพื่อหาภาวการณ์ขาดสารไอโอดีน.
แนวทางการให้ยาต้านไวรัสในหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีและทารกในกรณีต่างๆ
โครงการป้องกันและควบคุมโรค ธาลัสซีเมีย
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
การนิเทศติดตามงาน PMTCT และ ชี้แจงการดำเนินงานโครงการด้านเอดส์รอบ 10
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
ผลการดำเนินงานเอดส์ในแม่และเด็ก
Case Manageme nt พิมพ์ศิริ เลี่ยวศรีสุข สถาบันสุขภาพเด็ก แห่งชาติมหาราชินี
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐด้านสาธารณสุข
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การให้ความรู้/คำแนะนำแก่แม่ขณะตั้งครรภ์ (บันไดขั้นที่ 3)
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
จำนวนผู้มารับบริการฝากครรภ์
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
Pass:
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
การดำเนินงาน PMTCT (การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก)
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ศูนย์พึ่งได้ เด็กที่ได้รับ ผลกระทบจาก เอดส์ เด็กเปราะบาง เด็กที่ติดเชื้อ เอชไอวี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2554 นายแพทย์ถวัลย์ สายวัฒน์ หัวหน้ากลุ่มงานสูตินรีเวชกรรมโรงพยาบาลอุดรธานี

นโยบายการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 สถานบริการสาธารณสุขทุกเครือข่าย จัดให้มีบริการปรึกษาทั้งก่อน และหลังการตรวจหาเชื้อ เอช ไอ วี อย่างมีคุณภาพ ให้คำปรึกษาแบบคู่ เก็บผลการตรวจเป็นความลับอย่างเคร่งครัด โดยแจ้งให้ทราบเฉพาะบุคคล และผู้ที่ได้รับการตรวจหาเชื้อ เอช ไอ วี อนุญาตเท่านั้น

นโยบายการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวี จากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 2. หญิงตั้งครรภ์ทุกคน และสามีหรือคู่ครอง จะได้รับการปรึกษาแบบคู่ ตรวจหาเชื้อ เอช ไอ วี ด้วยความสมัครใจ ถ้าติดเชื้อ เอช ไอ วี ตรวจเซลล์ CD4 รักษาด้วยยาต้านไวรัสที่มีฤทธิ์สูง (HAART) หรือยาต้านไวรัสอื่น ๆ ตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข

นโยบายการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 3. เด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี ยาต้านไวรัสเมื่อแรกเกิด นมผสมสำหรับเลี้ยงทารก ตรวจเลือดหาเชื้อ เอช ไอ วี ตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข

นโยบายการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 4. แม่ ลูก และ สามีหรือคู่ครอง ที่ติดเชื้อ เอชไอวี รับยาต้านไวรัสตามสภาพของการติดเชื้อ การส่งเสริมสุขภาพ การติดตามการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง

การให้ยาต้านไวรัสที่มีฤทธิ์สูง ป้องกันการแพร่เชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก (Highly Active Antiretroviral Therapy = HAART) ป้องกันการแพร่เชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก CD4 count cells/mm3 ยาต้านไวรัส(2) มารดา ทารก(4) ตั้งครรภ์ (3) คลอด หลังคลอด ≤ 350(1) AZT+3TC + LPV/r เร็วที่สุด AZT 300 mg ทุก 3 ชม. จนคลอด หรือ AZT 600 mg ครั้งเดียว ไม่ต้องหยุดยา ส่งต่อให้ อายุรแพทย์รักษาตามแนวทาง AZT x 4 สัปดาห์ นมผสม 18 เดือน > 350 อายุครรภ์ 14 สัปดาห์ หยุดยา (1) ได้ HAART มาก่อน ให้สูตรเดิมต่อ หลีกเลี่ยง EFV ในไตรมาสแรก หรือ d4T + ddI ขณะตั้งครรภ์ (2) AZT (200–300 mg) 1 X ทุก 12 ชม. 3TC (150 mg) 1 x ทุก 12 ชม. หรือ AZT + 3TC (300 mg + 150 mg) 1 x ทุก 12 ชม. LPV/r (200 mg / 50 mg) 2 x ทุก 12 ชม. (3) ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 14 สัปดาห์ ตรวจ CD4 ก่อน (4) AZT 4 มก./กก. X ทุก 12 ชม.

การให้ยาต้านไวรัสป้องกันการแพร่เชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (ไม่ฝากครรภ์ / ไม่มีผลเลือดเมื่อมาคลอด) CD4 count (cells/mm3) ระหว่างคลอด หลังคลอด แม่ ทารก (2) ≤ 350 AZT 300 mg. ทุก 3 ชม. หรือ AZT 600 mg. ครั้งเดียว + SD NVP (1) AZT+ 3TC + LPV/r 4 สัปดาห์ และ HAART AZT + 3TC x 4-6 สัปดาห์ NVP x 2-4 สัปดาห์ นมผสม 18เดือน > 350 AZT + 3TC + LPV/r 4 สัปดาห์ (1) ไม่ต้องให้ ถ้าคาดว่าจะคลอดภายใน 2 ชม. (2) AZT 4 มก./กก./ครั้ง x ทุก 12 ชม. 3TC 2 มก./กก. /ครั้ง x ทุก 12 ชม. NVP 4 มก./กก. /ครั้ง x วันละครั้ง(ทุก 24 ชั่วโมง)

แนวทางการดำเนินงาน เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554

แนวทางการดำเนินงาน เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวีจากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 1. สถานบริการสาธารณสุขทุกเครือข่าย ควรจัดให้มีบริการปรึกษาทั้งก่อนและหลังการตรวจหาเชื้อ เอช ไอ วี อย่างมีคุณภาพ ควรให้การปรึกษาแบบคู่ และเก็บผลการตรวจเป็นความลับอย่างเคร่งครัด โดยแจ้งให้ทราบเฉพาะบุคคล และผู้ที่ได้รับการตรวจหาเชื้อ เอช ไอ วี อนุญาตเท่านั้น

แนวทางการดำเนินงาน เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวีจากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 2. หญิงตั้งครรภ์ทุกคน และสามีหรือคู่ครอง จะได้รับการปรึกษาแบบคู่และตรวจหาเชื้อเอช ไอ วีด้วยความสมัครใจ ซึ่งการตรวจหาเชื้อ เอช ไอ วี ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด

(Highly Active Antiretroviral Therapy : HAART)ดังนี้ แนวทางการดำเนินงาน เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวีจากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 3. หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วีทุกคนจะได้รับการตรวจเซลล์ CD4 และจะได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสที่มีฤทธิ์สูง (Highly Active Antiretroviral Therapy : HAART)ดังนี้

แนวทางการดำเนินงาน เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวีจากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 3.1 กรณีหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ ไม่เคยได้รับยาต้านไวรัสใดๆมาก่อน 3.1.1 ผลการตรวจเซลล์ CD4 มากกว่า 350 เซลล์ต่อไมโครลิตร ให้ยา AZT + 3TC+LPV/r โดยเริ่มกินยาเมื่ออายุครรภ์ 14 สัปดาห์เช้า – เย็น ห่างกัน 12 ชั่วโมง จนเจ็บท้องคลอด เมื่อเริ่มเจ็บท้องคลอดกินยาต้านไวรัส AZTเม็ดละ 300 มิลลิกรัม ทุก 3 ชั่วโมง จนกระทั่งคลอด หรือ AZT 600 มิลลิกรัมครั้งเดียว หลังคลอด ให้หยุดกินยาต้านไวรัส

แนวทางการดำเนินงาน เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวีจากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 3.1.2 ผลการตรวจเซลล์ CD 4 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 350 เซลล์ต่อไมโครลิตร ให้ยา AZT + 3TC+LPV/r โดยเริ่มกินยาทันทีเช้า – เย็น ห่างกัน 12 ชั่วโมง จนเจ็บท้องคลอด เมื่อเริ่มเจ็บท้องคลอด กินยาต้านไวรัส AZT เม็ดละ 300 มิลลิกรัม ทุก 3 ชั่วโมงจนกระทั่งคลอด หรือ AZT 600 มิลลิกรัม ครั้งเดียว หลังคลอด ให้กินยาต้านไวรัสที่มีฤทธิ์สูง ( HAART) ต่อตามแนวทางการรักษาการติดเชื้อเอชไอวีในผู้ใหญ่

แนวทางการดำเนินงาน เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวีจากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 3.1.3 กรณีหญิงตั้งครรภ์ ที่เคยได้รับการักษายาต้านไวรัส ( HAART) มาก่อน ระยะตั้งครรภ์ ให้กินยาต้านไวรัส ที่ได้รับเพื่อการรักษาก่อนตั้งครรภ์ต่อเนื่อง เมื่อเริ่มเจ็บท้องคลอด กินยาต้านไวรัส AZT เม็ดละ 300 มิลลิกรัม ทุก 3 ชั่วโมงจนกระทั่งคลอด หรือ AZT 600 มิลลิกรัม ครั้งเดียว หลังคลอด กินยาต้านไวรัส ที่ได้รับเพื่อการรักษาก่อนตั้งครรภ์ต่อเนื่องต่อไป

3.2.1 คาดว่าจะคลอดภายใน 2 ชั่วโมง แนวทางการดำเนินงาน เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวีจากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 3.2 กรณีหญิงตั้งครรภ์มาคลอดโดยไม่ได้ฝากครรภ์ 3.2.1 คาดว่าจะคลอดภายใน 2 ชั่วโมง ระยะคลอด กินยาต้านไวรัส AZT เม็ดละ 300 มิลลิกรัม ทุก 3 ชั่วโมงจนกระทั่งคลอด หรือ AZT 600 มิลลิกรัม ครั้งเดียว หลังคลอด พิจารณาให้การรักษาตามแนวทางการรักษาผู้ใหญ่ หลังได้ผล CD 4

แนวทางการดำเนินงาน เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวีจากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 3.2.2 คาดว่าไม่น่าจะคลอดภายใน 2 ชั่วโมง ระยะคลอด กินยาต้านไวรัส AZT เม็ดละ 300 มิลลิกรัม ทุก 3 ชั่วโมงจนกระทั่งคลอด หรือ AZT 600 มิลลิกรัม ครั้งเดียว ร่วมกับให้ single – dose nevirapine เม็ดละ 200 มิลลิกรัม 1 เม็ด หลังคลอด ให้ยา AZT ( 200-300 มิลลิกรัม )+ 3TC ( 150 มิลลิกรัม ) + LPV/r ( 400/100 มิลลิกรัม) ทุก 12 ชั่วโมง จนกว่าจะทราบผล CD4

แนวทางการดำเนินงาน เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวีจากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 4. ทารกทุกคนที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี 4.1 ถ้าแม่ฝากครรภ์ และได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสที่มีฤทธิ์สูง (HAART) ในระยะตั้งครรภ์ หรือได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสมาก่อน ทารกจะได้รับยาต้านไวรัส AZT ชนิดน้ำ โดยเริ่มกินทันทีหลังคลอด ขนาด 4 มิลลิกรัม ต่อน้ำหนัก 1 กิโลกรัม ทุก 12 ชั่วโมง กินติดต่อกัน 4 สัปดาห์

แนวทางการดำเนินงาน เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวีจากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 4.2 ถ้าแม่ไม่ได้ฝากครรภ์ หรือไม่ได้รับการรักษาด้วย ยาต้านไวรัสในระยะตั้งครรภ์ ทารกได้รับยาต้านไวรัส AZT ชนิดน้ำ + 3TC ชนิดน้ำโดยเริ่มกินทันที หลังคลอดให้ AZT ขนาด 4 มิลลิกรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม และ 3TC ขนาด 2 มิลลิกรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมทุก 12 ชั่วโมง กินติดต่อกันนาน 4 ถึง 6 สัปดาห์ และกินยา Nevirapine ชนิดน้ำ ขนาด 4 มิลลิกรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม วันละครั้ง กินติดต่อกัน 2 ถึง 4 สัปดาห์

แนวทางการดำเนินงาน เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวีจากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 5. ทารกที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี จะได้รับนมผสมสำหรับเลี้ยงทารกจนอายุครบ 18 เดือน แทนการเลี้ยงด้วยนมแม่ 6. เด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ทุกคนต้องได้รับการตรวจหาเชื้อเอชไอวี ดังนี้

แนวทางการดำเนินงาน เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวีจากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 6.1 ตรวจหาเชื้อ เอช ไอ วีด้วยวิธี PCR ครั้งแรกเมื่ออายุ 1 – 2 เดือน - ถ้าผลเป็นบวก ให้ตรวจซ้ำทันที ถ้าผลครั้งที่ 2 เป็นบวก ให้ส่งต่อเด็กเข้าสู่ระบบการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสสำหรับเด็กทันที - ถ้าผลเป็นลบให้ตรวจครั้งที่ 2 เมื่ออายุ 4 เดือน และตรวจยืนยันด้วย HIV antibody เมื่ออายุ 18 เดือน - กรณีผล PCR ครั้งที่ 1และ ครั้งที่ 2 ขัดแย้งกัน ให้ตรวจซ้ำครั้งที่ 3 ทันที

แนวทางการดำเนินงาน เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวีจากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 6.2 กรณีที่ไม่ได้ตรวจเลือดด้วยวิธี PCR ให้ตรวจ HIV antibody เมื่ออายุ 12 เดือน ถ้าผลเป็นบวก ให้ตรวจซ้ำอีกครั้งเมื่ออายุ 18 เดือน

แนวทางการดำเนินงาน เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวีจากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 7. กรณีที่หญิงหลังคลอดยินยอมเปิดเผยผลเลือดตนเองแก่สามี และยังไม่ได้รับบริการปรึกษาแบบคู่เมื่อมาฝากครรภ์ หญิงหลังคลอดและสามีหรือคู่ครอง จะได้รับการดูแลให้การปรึกษา การดูแลสุขภาพและการส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งการรักษาด้วยยาต้านไวรัส ตามข้อบ่งชี้ เช่น ปริมาณของเซลล์ CD4 และพยาธิสภาพของโรค

แนวทางการดำเนินงาน เพื่อป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวีจากแม่สู่ลูก พ.ศ. 2554 8. สำหรับเด็กจะได้รับการดูแลต่อเนื่อง ที่เหมาะสม หากพบว่ามีการติดเชื้อ เอช ไอ วี จะได้รับยาต้านไวรัสเพื่อการรักษาตาม แนวทางการรักษาด้วยการให้ยาต้านไวรัส ในเด็ก

ตัวชี้วัดความสำเร็จ อัตราการติดเชื้อเอชไอวี ในหญิงตั้งครรภ์ลดลง อัตราการติดเชื้อเอชไอวี ในหญิงตั้งครรภ์ลดลง อัตราการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูกลดลง

Roadmap งานป้องกันการแพร่เชื้อ เอช ไอ วี จากแม่สู่ลูก กรมอนามัย 2552-2554 แผนปีที่ 1 แผนปีที่ 2 แผนปีที่ 3 2554 อัตราการถ่ายทอดเชื้อ เอช ไอ วี จากแม่สู่ลูก 3.6% จำนวนเด็กที่ติดเชื้อ <200 ราย 2552 ตุลาคม 51 - กันยายน 52 2553 ตุลาคม 52 – กันยายน 53 แม่ติดเชื้อ 0.75 % ลูกติดเชื้อ 3.8 % แม่ติดเชื้อ 0.70 % ลูกติดเชื้อ 3.7 % หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ได้รับยาต้านไวรัส เพื่อลดการแพร่ เชื้อจากแม่สู่ลูก (AZT/NVP และ / HAART) ร้อยละ 98 เด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ได้รับยาต้านไวรัส เพื่อลดการแพร่เชื้อจากแม่สู่ลูก (AZT NVP และ /HAART) ร้อยละ 99 เด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ได้รับนมผสมเพื่อทดแทนนมแม่ ร้อยละ 98.5 หญิงหลังคลอดที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ได้รับการดูแลต่อเนื่อง ร้อยละ 80 หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ได้รับยาต้านไวรัส เพื่อลดการแพร่ เชื้อจากแม่สู่ลูก (AZT และ NVP/HAART) ร้อยละ 98.5 เด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ได้รับยาต้านไวรัส เพื่อลดการแพร่ เชื้อจากแม่สู่ลูก (AZT และ NVP/HAART) ร้อยละ 99 เด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ได้รับนมผสมเพื่อทดแทนนมแม่ ร้อยละ 99 หญิงหลังคลอดที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ได้รับการดูแลต่อเนื่อง ร้อยละ 85 หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ได้รับยาต้านไวรัส เพื่อลดการแพร่เชื้อจากแม่สู่ลูก (AZT และ NVP/HAART) ร้อยละ 99 เด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ได้รับยาต้านไวรัส เพื่อลดการแพร่ เชื้อจากแม่สู่ลูก (AZT และ NVP/HAART) ร้อยละ 99 เด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ได้รับนมผสมเพื่อทดแทนนมแม่ ร้อยละ 99 หญิงหลังคลอดที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ได้รับการดูแลต่อเนื่อง ร้อยละ 90 สนับสนุนวัสดุ /เวชภัณฑ์ต่อเนื่อง พัฒนาระบบบริการ /พัฒนาศักยภาพบุคลากร การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ยา AZT/NVP หรือ HAARTสำหรับ หญิงตั้งครรภ์ และเด็กที่เกิดจาก แม่ที่ติดเชื้อ นมผสมสำหรับเด็กแรกเกิด-18เดือน ที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ น้ำยาตรวจ CD4 / PCR เวชภัณฑ์คุมกำเนิด ยา OI คุณภาพบริการ การให้บริการปรึกษา ระบบการส่งตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ ระบบส่งต่อผู้รับบริการ ระบบบริหารจัดการคลัง ยา สมาคมวิชาชีพ สมาคมโรคติดเชื้อ ราชวิทยาลัยสูติ/กุมารฯ สภากาชาดไทย/กทม./กลาโหม หน่วยงานหลัก/ร่วม กรมควบคุมโรค, กรมสุขภาพจิต NGO, มูลนิธิรักษ์ไทย, มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ อบต. ชมรมผู้ติดเชื้อ กองทุนโลก/UNICEF/WHO การควบคุมกำกับ ระบบรายงานโครงการ การป้องกันการแพร่เชื้อ เอช ไอ วี จากแม่สู่ลูก (PHIMS) การดูแลหญิงคลอด และครอบครัว ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี (CARE) NAP (สปสช)

การดำเนินงานสู่ความสำเร็จ ภายใน พ.ศ. 2554

1. นโยบายการให้ยาต้านไวรัส การให้ยาต้านไวรัส 3 ตัว(ที่มีประสิทธิภาพ มากขึ้น) สำหรับหญิงตั้งครรภ์ (HAART) ระบบบริการเอื้อต่อการให้บริการ - สถานบริการสาธารณสุขรับนโยบายใหม่ - สปสช. สนับสนุนยาต้านไวรัสต่อเนื่อง - ผู้ปฎิบัติได้รับการพัฒนาศักยภาพ - การนิเทศ ติดตาม ควบคุมกำกับ

2. การให้เพศชาย มีส่วนร่วมในการป้องกัน การให้บริการปรึกษา - การให้การปรึกษารายบุคคล (Individual counseling) - การให้การปรึกษาแบบกลุ่ม (Group counseling) - การให้การปรึกษา แบบคู่ (Couple counseling) - การให้การปรึกษาโดยสมัครใจ (VCCT : Voluntary and Confidential Counseling and Testing) จัดคลินิกบริการ VCT แบบ Male friendly ให้ความรู้ สังคม ในเรื่องการป้องกัน อย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ

การตรวจเลือดสำหรับหญิงตั้งครรภ์ และ สามี นโยบายการให้บริการ ใช้แนวทางของWHO - Anti HIV antibody - Test for CD count - PITC : Provider initiated testing and counseling

3. การดูแลเด็กที่ได้รับผลกระทบ อย่างเป็นรูปธรรม โดยชุมชนมีส่วนร่วม 3. การดูแลเด็กที่ได้รับผลกระทบ อย่างเป็นรูปธรรม โดยชุมชนมีส่วนร่วม จัดระบบฐานข้อมูลเด็กได้รับผลกระทบจากเอดส์ ให้บริการดูแล รักษา และช่วยเหลือ อย่างต่อเนื่อง ให้ครอบครัว มีส่วนร่วมในการดูแล ให้ชุมชนมีส่วนร่วม ในการช่วยเหลือ และลดการรังเกียจ กีดกัน

4. การลดการรังเกียจ กีดกัน และ การตีตราผู้ติดเชื้อ เอชไอวี 4. การลดการรังเกียจ กีดกัน และ การตีตราผู้ติดเชื้อ เอชไอวี จัดทำแนวทางปฏิบัติ - ในสถานบริการ - ในชุมชน ดำเนินการ ตามแนวทางปฏิบัติ ประเมินผล

ชุดสิทธิประโยชน์ หญิงตั้งครรภ์ ได้รับ สามี ได้รับ - การตรวจ HIV Antibody - การตรวจ CD4 count ทุก 6 เดือน - ได้รับยาต้านไวรัสเพื่อการป้องกันการ ติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก - ได้รับยาต้านไวรัสเพื่อการรักษา สามี ได้รับ - การตรวจ CD4 count ทุก 6 เดือน

และประเมินผลการดำเนินงาน การควบคุมกำกับ และประเมินผลการดำเนินงาน ประเมินกระบวนการ โดยใช้ระบบรายงาน (PHIMS) (Perinatal HIV Monitoring System) ประเมินผลลัพธ์ / ผลกระทบ อัตราการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก (Transmission rate) 33 33

บทสรุป ผลสำเร็จของ PMTCT ของประเทศไทย: มีนโยบายรองรับ ตั้งแต่เริ่มต้น มีผลการศึกษาวิจัยที่ชัดเจน เป็นแนวทาง มีผลการดำเนินงานในพื้นที่ทดลอง สามารถทำได้ ให้ความสำคัญกับการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ ให้ความสำคัญกับการให้บริการปรึกษา มีระบบบริการอนามัยแม่และเด็กที่ดี สามารถผสมผสานเข้าไปในระบบบริการได้ มีการประสานความร่วมมือกับนานาชาติ

บทสรุป การดำเนินงานเพื่อเกิดความยั่งยืน การสนับสนุนด้านนโยบาย และงบประมาณต่อเนื่อง การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่อย่างต่อเนื่อง ให้ความสำคัญกับการควบคุมกำกับ และระบบรายงาน เพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนาบริการให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น พัฒนาการให้บริการต่อเนื่อง เช่น สูตรยาที่ดี และเหมาะสมมากขึ้น พัฒนาระบบริการปรึกษาเช่น couples counseling บริการดูแลรักษาแม่ที่ติดเชื้อและครอบครัว และดุแลเด็กที่ได้รับผลกระทบ

ผลการดำเนินงานเอดส์ในแม่และเด็ก ปีงบประมาณ 2551-2553

ผลการดำเนินงานปี 2552 (ตุลาคม 2550 - กันยายน 2552) ระดับประเทศ อัตราการติดเชื้อ ในหญิงตั้งครรภ์ 0.74 % หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อได้รับยาต้านไวรัส 93.50% เด็กได้รับยาต้านไวรัส 99.58 % เด็กได้รับนมผสมเพื่อทดแทนนมแม่ 96.57% รายงาน PHIMS/CHILD สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย / ตุลาคม 2552

แหล่งข้อมูล : รายงาน PHIMS อัตราการติดเชื้อ เอช ไอ วี ในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัดอุดรธานี ปี 2545- 2553 เป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ 0.7 ร้อยละ สำหรับอัตราการติดเชื้อ เอช ไอ วี ในหญิงตั้งครรภ์ และหญิงที่มาคลอด ในเขตรับผิดชอบของศูนย์อนามัยที่ 6 ระหว่างปี 2545-2550 พบว่าในภาพรวมมีแนวโน้มลดลงเช่นเดียวกัน โดยในปี 2550 พบว่า อัตราการติดเชื้อ เอช ไอ วี ในหญิงตั้งครรภ์ ภาพรวมอยู่ที่ร้อยละ 0.8 ส่วนในหญิงที่มาคลอดภาพรวมอยู่ที่ร้อยละ 0.6 ซึ่งถือว่าบรรลุเป้าหมายที่กำหนด คือ ไม่เกินร้อยละ 1 แหล่งข้อมูล : รายงาน PHIMS 38

แหล่งข้อมูล : รายงาน PHIMS ความครอบคลุมการได้รับยาต้านไวรัสของหญิงคลอดที่ ติดเชื้อ เอช ไอ วี จังหวัดอุดรธานี ปี 2547 – 2553 ร้อยละ เป้าหมาย ร้อยละ 98 แหล่งข้อมูล : รายงาน PHIMS 39

แหล่งข้อมูล : โปรแกรม Child ความครอบคลุมการติดตามทารกที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี มาตรวจเลือด จังหวัดอุดรธานี ปี 2548 – 2553 เป้าหมาย ร้อยละ 85 ร้อยละ แหล่งข้อมูล : โปรแกรม Child 40

แหล่งข้อมูล : โปรแกรม Child อัตราการติดเชื้อ เอช ไอ วี ในเด็กอายุ 18-24 เดือน จังหวัดอุดรธีนี ปี 2545 – 2553 ร้อยละ เป้าหมาย ร้อยละ 3.6 และเมื่อมาดูอัตราการติดเชื้อ เอช ไอ วี ในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่แสดงถึงประสิทธิภาพของการดูแลให้ยาเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ เอช ไอ วี จากแม่สู่ลูก พบว่า มีแนวโน้มการติดเชื้อที่ลดลงเรื่อยๆ โดยในปี 2550 พบว่า ในภาพรวมของเขตอัตราการติดเชื้อ เอช ไอ วี ในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี อยู่ที่ร้อยละ 5.9 ซึ่งยังคงสูงกว่าเป้าหมายคือ ร้อยละ 5 อยู่เล็กน้อย แหล่งข้อมูล : โปรแกรม Child 41

สวัสดี