งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรมอนามัย กับ ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรมอนามัย กับ ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรมอนามัย กับ ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ
ระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2550

2 เป้าหมายการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง ประจำปี 2550
นโยบายกระทรวง ข้อ 40 โครงการ แผนการตรวจราชการและนิเทศงาน เรื่อง คำรับรองการปฏิบัติราชการกับ ก.พ.ร. 76 ตัวชี้วัด

3 แผนการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง ปี 2550
12. วัฒนธรรมองค์กรและ ธรรมาภิบาล 11. ลดปัญหาสุขภาพด้านอบายมุข 1. พระราชดำริ เฉลิมพระเกียรติ 10. แพทย์แผนไทย แพทย์ทางเลือก และธุรกิจบริการ 2. แก้ปัญหาความไม่สงบภาคใต้ แผนการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง ปี 2550 3. พัฒนาคุณภาพการบริการ และการบริหารการเงินการคลัง 9. การจัดการความรู้และสร้างเสริมสุขภาพ 4. ระดมศักยภาพภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ 8. ควบคุมป้องกันโรค ไม่ติดต่อ 5. พัฒนาความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมภาคประชาชน 7. ควบคุมป้องกันโรคติดต่อ 6. โครงสร้างพื้นฐานระบบบริการสุขภาพ

4 1. พระราชดำริ เฉลิมพระเกียรติ
1. ฟันเทียมพระราชทาน 2. การควบคุม/ป้องกันการขาดสารไอโอดีน งาน กรมอนามัย ในแผนการตรวจราชการและนิเทศงาน ระดับกระทรวง ปี 2550 2. แก้ปัญหาความไม่สงบภาคใต้ 1. การพัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก 1. การสนับสนุนและพัฒนาความเข้มแข็งและ การมีส่วนร่วมขบวนการสุขภาพภาค ปชช. 2. การพัฒนาส้วมสาธารณะ 3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 4. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 5. พัฒนาความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมภาคประชาชน 7. ควบคุมป้องกันโรคติดต่อ การควบคุมและป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูก 8. ควบคุมป้องกันโรค ไม่ติดต่อ 1. การเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยจากมะเร็งเต้านม 2. การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 3. การตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ 9. การจัดการความรู้และสร้างเสริมสุขภาพ 1. อาหารปลอดภัย 2. การดูแลสุขภาพแม่และเด็ก

5 โครงการตามพระราชดำริ เฉลิมพระเกียรติ อันเกี่ยวเนื่องกับพระบรมวงศานุวงศ์
1. โครงการฟันเทียมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ ตัวชี้วัดและเป้าหมาย 1) ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่ได้รับบริการใส่ฟันเทียมตามเป้าหมายที่กำหนด 2. โครงการควบคุม/ป้องกันการขาดสารไอโอดีน 1) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของครัวเรือนที่ใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ (ไอโอดีน ppm.) 2) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของสถานที่ผลิตเกลือบริโภคที่มีการผลิตเกลือเสริม ไอโอดีนมีคุณภาพ 3) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของเด็กแรกเกิดอายุ 2 วันขึ้นไปมีปริมาณ TSH ในเลือด จากการเจาะเลือดส้นเท้าน้อยกว่า 5 มล.ยูนิต/ลิตร

6 แก้ปัญหาความไม่สงบ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
แก้ปัญหาความไม่สงบ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 1. พัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก ตัวชี้วัดและเป้าหมาย 1. อัตราตายของมารดา ไม่เกิน 36 ต่อแสนการเกิดมีชีพ 2. อัตราตายปริกำเนิดของทารก ไม่เกิน 15 ต่อพันการเกิด 3. อัตราหญิงมีครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 4. อัตราการฝากครรภ์ครบ 4 ครั้งตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 5. อัตราการคลอดในสถานบริการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95

7 พัฒนาความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของขบวนการสุขภาพภาคประชาชน
1. โครงการสนับสนุนและพัฒนาความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของขบวนการ สุขภาพภาคประชาชน ตัวชี้วัดและเป้าหมาย : 1) ร้อยละ 80 ของชมรมสร้างสุขภาพ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับมัธยมศึกษาในเขตเมืองและ หน่วยงานราชการส่วนภูมิภาคระดับจังหวัดในอำเภอเมือง ดำเนินกิจกรรมวัดรอบเอว ปีละ 2 ครั้ว 2. โครงการพัฒนาส้วมสาธารณะ 1) ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมายมีส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน HAS ผ่านเกณฑ์ครบทั้ง 16 ข้อ 3. โครงการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 1) ร้อยละ 86 ของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ผ่านการประเมินและรับรองตามกระบวนการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 4. โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 1) ร้อยละ 80 ของโรงเรียนทุกสังกัดผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

8 ควบคุมป้องกันโรคติดต่อ
โครงการควบคุมและป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูก ตัวชี้วัดและเป้าหมาย : 1) ร้อยละ 95 ของหญิงคลอดที่ติดเชื้อ HIV ได้รับยาต้านไวรัสเอดส์ขณะตั้งครรภ์ 2) ร้อยละ 70 ของเด็กอายุ 18 – 24 เดือน ที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ HIV ได้รับการ ตรวจ เลือด HIV

9 ควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อ
1. โครงการเฝ้าระวังและดูแลสตรีไทยจากมะเร็งเต้านม ตัวชี้วัดและเป้าหมาย : 1) ร้อยละ 40 ของสตรีอายุ 35 ปีขึ้นไปผ่านการประเมินทักษะการตรวจมะเร็ง เต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องจากเจ้าหน้าที่ 2. โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ตัวชี้วัดและเป้าหมาย : 1) ร้อยละ 10 ของสตรีอายุ 30 – 45 ปี ในพื้นที่เป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี VIA 3. โครงการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ 1) ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบได้รับการตรวจคัดกรอง ธาลัสซีเมีย

10 ส่งเสริมพัฒนาการจัดการความรู้ด้านสุขภาพ และสร้างเสริมสุขภาพ
ส่งเสริมพัฒนาการจัดการความรู้ด้านสุขภาพ และสร้างเสริมสุขภาพ 1. โครงการอาหารปลอดภัย ตัวชี้วัดและเป้าหมาย : 1) ร้อยละ 65 ของร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน 2) ร้อยละ 60 ของตลาดสดประเภทที่ 1 ได้มาตรฐานตลาดสดน่าซื้อ 2. การดูแลสุขภาพแม่และเด็ก ตัวชี้วัดและเป้าหมาย : 1) ร้อยละ 100 ของมารดาและทารกที่เสียชีวิตตามเกณฑ์ ได้รับการตรวจสอบความ ถูกต้องของข้อมูลและดำเนินการแก้ไขสาเหตุ โดย MCH Board ของจังหวัด 2) ร้อยละ 100 ของตำบลที่มีครอบครัวผ่านเกณฑ์พื้นฐานครอบครัวแข็งแรงไม่น้อยกว่า 80 ครอบครัว

11 ประเด็นการประชุม สิ่งที่คณะผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขพบเห็นจากพื้นที่ 2. ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนางาน ของกรมอนามัย 3. ประเด็นฝากจากกรมอนามัย

12 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณที่จัดสรรให้หน่วยงานอื่นเบิกแทน
หน่วยเบิกแทน งบจัดสรร เบิกจ่าย คงเหลือ ศอ.1 1,822,400.00 121,550.00 1,700,850.00 ศอ2 1,912,350.00 353,217.00 1,559,133.00 ศอ3 3,806,500.00 11,947.20 3,686,552.80 ศอ4 3,559,750.00 521,213.00 3,038,537.00 ศอ5 2,051,000.00 67,000.00 1,984,000.00 ศอ.6 3,917,750.00 435,392.00 3,482,358.00

13 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณที่จัดสรรให้หน่วยงานอื่นเบิกแทน
หน่วยเบิกแทน งบจัดสรร เบิกจ่าย คงเหลือ ศอ.7 3,680,750.00 381,995.45 3,298,754.55 ศอ.8 1,898,950.00 23,810.00 1,875,140.00 ศอ.9 2,412,350.00 174,982.00 2,237,368.00 ศอ.10 4,175,350.00 539,204.47 3,636,145.53 ศอ.11 2,851,750.00 53,257.00 2,798,493.00 ศอ.12 3,200,250.00 89,950.00 3,110,300.00

14 ประเด็นการประชุม เสนอแนะต่อการบริหารจัดการของกรมอนามัย

15 "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"
กรมอนามัย "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"


ดาวน์โหลด ppt กรมอนามัย กับ ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google