ทางออกการจัดการปัญหา คนพิการเชิงรุก นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 10.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
Advertisements

รพ.สร้างเสริมสุขภาพตำบล
ระบบสารสนเทศเพื่อการปกครอง
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ไม่ต้องจัดหา ต้องดูด้านคุณภาพ เป็นการสร้างเสริมปกป้อง สุขภาพของสาธารณะ.
ภารกิจนักสุขภาพครอบครัว
พื้นที่รับผิดชอบของ นสค.
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
โครงการกรมการแพทย์ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ แบบเบ็ดเสร็จ ปี 2551
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
นักสุขภาพครอบครัว กับการเปลี่ยนแปลง๒๕๕๔ มุ่งมั่น พยายาม อดทน รอคอย 1.
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ปฐมภูมิ กับการเปลี่ยนแปลง อำเภอสุขภาพเข้มแข็ง ศรัทธา มุ่งมั่น พยายาม
หมอครอบครัวประจำตัว ทุกครัวเรือน ปฏิบัติการเร่งรัด ๒๕๕๕ ปฏิ
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
ระบบลงทะเบียนบุคคลพิการขาขาด
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
1. การประเมิน / จำแนกผู้ป่วย เพื่อรับการรักษา 2. การทำงานร่วมกับสหวิชาชีพ 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีความ เสี่ยงสูง เช่นผู้ป่วยหลอดเลือด สมอง ผู้ป่วยที่ไม่สามารถ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทางออกการจัดการปัญหา คนพิการเชิงรุก นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 10

หัวใจบริการ เอื้ออาทร ครบวงจร 1. การเข้าถึงบริการ 2. ความต่อเนื่องบริการ 3. บริการแบบองค์รวม (Holistic) 4. ประสานเบ็ดเสร็จ (Integrated) 5. ประสานพันธมิตรติดแน่น ( อปท.) 6. ชุมชนมีส่วนร่วม

1. การเข้าถึง บริการ 1. ค้นหาคนพิการทุก บ้าน 2. คำนึงถึงศักดิ์ศรี คนพิการ 3. แยกลักษณะความ พิการ ( ใจ, ตา, หู, การ เคลื่อนไหว )

1. สถานบริการ ( สอ, รพช, รพท / ศ ) บริการที่ไหน 2. บ้าน ( ครัวเรือน ) 3. สถานที่ ทำงาน 4. สาธารณะ สถาน

2. ความต่อเนื่อง บริการ 1. การจัดระบบเยี่ยมบ้าน 2. การจัดหา / ดูแล “ ตัวช่วย อิทธิฤทธิ์ ” 3. ตรวจสอบสิ่งอำนวยความ สะดวกบริการสาธารณะ

3. บริการแบบ องค์รวม ( จับต้นชนปลายชัดเจน ) ช่างอ๊อกเหล็ก กับ ตาบอด คนถีบสามล้อ กับ ขาด้วน คนใช้คอมพิวเตอร์ กับ แขนขาด

4. ประสาน เบ็ดเสร็จ เบาหวาน กับ ตาบอด อ้วน กับ เข่าเสื่อม โรคเรื้อน กับ แขนกุด

5. ประสาน พันธมิตร กองทุนสุขภาพ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำหนดภาระกิจ อสม. “ ร่วมด้วย ช่วยกัน ” เพื่อดูแล “ สาธารณบริการเอื้ออาทะ ”

6. ชุมชนมี ส่วนร่วม เฝ้าระวังดูแลสิ่งอำนวยความสะดวกสาธารณะ ช่วยสร้าง “ ตัวช่วยอิทธิฤทธิ์ ” “ ตัวเชื่อมเหนียวแน่น ” ผู้พิการ กับ รัฐ

5. เสือปฐมภูมิ ส 1 นักเวชปฏิบัติคุณภาพ ส 2 นักให้คำปรึกษารอบรู้อบอุ่น ส 3 นักจัดการยุทธศาสตร์มิตรไมตรี

สุข ภาวะ อ จ ปฐมภูมิ สอ. EMS DHFDMMCH พิการ ทุติยภูมิ รพช. ตติยภูมิ รพท / ศ.

ภาระกิจ 5 เสือ 1. ค้นหาผู้พิการเชิงรุก 2. วิเคราะห์สภาพเพื่อเติม เต็ม 3. ประสานจัดหา “ ตัวช่วย อิทธิฤทธิ ” 4. ดูแลดุจญาติมิตร 5. ประคองให้เดินหน้าได ด้วยตนเอง

ภาระกิจ 5 เสือ ( ต่อ ) 6. ลงทะเบียนผู้พิการ 7. ดูแลเงินอุดหนุนที่ได้ตาม สิทธิ 8. เสริมทักษะอาชีพ “ หางาน ให้ญาติทำ ” 9. เชื่อมต่อ “ ความสามารถ เฉพาะตัว ” กับงานเลี้ยงชีพด้วย ตนเอง