ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
Advertisements

รพ.สร้างเสริมสุขภาพตำบล
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ภารกิจนักสุขภาพครอบครัว
พื้นที่รับผิดชอบของ นสค.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
นักสุขภาพครอบครัว กับการเปลี่ยนแปลง๒๕๕๔ มุ่งมั่น พยายาม อดทน รอคอย 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ทางออกการจัดการปัญหา คนพิการเชิงรุก นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 10.
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ปฐมภูมิ กับการเปลี่ยนแปลง อำเภอสุขภาพเข้มแข็ง ศรัทธา มุ่งมั่น พยายาม
หมอครอบครัวประจำตัว ทุกครัวเรือน ปฏิบัติการเร่งรัด ๒๕๕๕ ปฏิ
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1

พากันเดินด้วยความมุ่งมั่น

ประชาชน เป็นศูนย์กลาง www.themegallery.com

ปัญหาวิกฤติที่ยุ่งยากยาวนาน ขาดการเชื่อมโยง(ส่งต่อ) การแยกส่วนกันทำ ขาดการเชื่อมโยง(ส่งต่อ) www.themegallery.com

เป้าหมายบริการในอุดมคติ เชื่อมโยงระบบส่งต่อ จากชุมชน ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ เกิดความสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย ทั้งไปและกลับ www.themegallery.com

ผ ผู้สูงอายุ แม่และเด็ก เบาหวาน โรคหัวใจ ผู้พิการ ภายใน รพสต ผู้มีปัญหาทางจิต เบาหวาน โรคหัวใจ ผู้พิการ ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ประชาชน ชุมชน มีมาตรการทาง สังคม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดย ชุมชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท ภาคี หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง การจัดการนวัตกรรมที่ดี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ ภายใน รพสต องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม ภายใน รพสต 6

เป้าประสงค์ บูรณาการระบบบริการทุกระดับ เร่งรัดการเข้าถึงบริการเต็ม ๑๐๐ สร้างนักสุขภาพประจำครอบครัว บูรณาการระบบบริการทุกระดับ www.themegallery.com

เร่งรัดการเข้าถึงบริการเต็ม ๑๐๐ ประชาชนดูแลสุขภาพตนเอง ลดความเจ็บป่วยด้วยการออกกำลังกาย สนับสนุนการตั้งกลุ่ม/ชมรมหลากหลายในหมู่บ้าน กระตุ้นประชาชนเป็นสมาชิกกลุ่ม/ชมรมทุกคน ประชาชนช่วยกันดูแลความเจ็บป่วยด้วยกันเอง นักสุขภาพ/อสม.ดูแลต่อยอดส่งต่อดุจญาติมิตร www.themegallery.com

นักสุขภาพประจำครอบครัว ดูแลกลุ่มประชาชนชัดเจนดุจญาติมิตร 1:1250 รู้สภาวะสุขภาพทุกคนในเครือข่ายโดย GIS มี อสม.ช่วยงาน 1:20 เชื่อมโยงเป็นกลุ่มประจำ เติมใจ เติมสมอง ให้นักสุขภาพเป็นประจำ สร้างทีมงานเข้มแข็งใน รพสต. เอาใจใส่ดูแลการส่งต่อสมาชิกในกลุ่มเหมือนญาติ www.themegallery.com

บูรณาการระบบบริการทุกระดับ นักสุขภาพครอบครัวทุกคนในรพสต.เรียน SRM อปท.และภาคประชาชนร่วมเรียนรู้ SRM สร้างบทบาทเชิงรุกในกองทุนสุขภาพ บริการปฐมภูมิเป็นของนักสุขภาพประจำครอบครัว รพช,รพท,รพศ รับดูแลรักษาต่อดุจญาติมิตร www.themegallery.com

บริการปฐมภูมิ นักสุขภาพประจำครอบครัวดูแลต่อยอดจนส่งต่อ ประชาชนดูแลสุขภาพตนเอง ชมรม / กลุ่มช่วยกันดูแลกันเหมือนครอบครัวใหญ่ นักสุขภาพประจำครอบครัวดูแลต่อยอดจนส่งต่อ www.themegallery.com

บริการปฐมภูมิมีสมรรถนะ ทีมงานนักสุขภาพครอบครัวมีสมรรถนะ ระบบข้อมูล GIS ครบถ้วนนำมาวิเคราะห์ใช้ กองทุนสุขภาพเข้มแข็งทุกภาคส่วนร่วมแรงแข็งขัน รพสต.บริหารงบ PP ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบสื่อสารเชื่อมโยงจากครัวเรือนถึง รพสต. www.themegallery.com

เร่งรัด รพสต.คุณภาพ มีนักสุขภาพครอบครัวของประชาชน1250คนชัดเจน เติมคนครบทีม ( 1:1250) รวม 6-9 คน ประชากรเป้าหมาย 7000-10000 คน มีนักสุขภาพครอบครัวของประชาชน1250คนชัดเจน มี 5 เสือปฐมภูมิครบทีม ระบบสื่อสารคอมพิวเตอร์ GIS สมบูรณ์ มีส่วนร่วมบริหาร กองทุนสุขภาพ และ PP เต็มที่ www.themegallery.com

แก้ไขขาดทีมใน รพสต. กำหนดเป็นความรับผิดชอบร่วมกันของทุกหน่วย กันเงิน UC 1 % จังหวัดจ้าง นวก.สธ. รับย้ายจาก รพช,รพท,รพศ กำหนดเป็นความรับผิดชอบร่วมกันของทุกหน่วย จ้างนักจัดการข้อมูลมาช่วยงาน อบรมนักสร้างเสริมสุขภาพมาแบ่งเบาภาระ www.themegallery.com

เติมใจ เต็มกำลัง ปรับปรุงค่าตอบแทนงานเชิงรุกตามปริมาณงาน ร่วมมือ วพ.อุดร สอน จพสช.ปรับเป็น GN GN ทุกคนใน รพสต.ได้เรียน NP ปรับปรุงค่าตอบแทนงานเชิงรุกตามปริมาณงาน สนับสนุนยานพาหนะครบถ้วน(จักรยานยนต์คนจน) สนับสนุน “ซิมสุขภาพ” www.themegallery.com

สร้างต้นแบบ รพสต เข้มแข็ง หนึ่งอำเภอหนึ่ง รพสต.คุณภาพ หนึ่งจังหวัดหนึ่งอำเภอ รพสต.คุณภาพครบถ้วน www.themegallery.com

คืนผลงานคุณภาพ โอนเงินเพิ่มงานเชิงรุกดีผู้ป่วยมา รพ.น้อยลง มอบเงิน ON TOP ให้ รพสต.บริหาร มอบเงิน “คุณภาพจาก สปสช” ให้ รพสต โอนเงินเพิ่มงานเชิงรุกดีผู้ป่วยมา รพ.น้อยลง www.themegallery.com

สวัสดีครับ