ทฤษฎีพัฒนาการทางความคิด (Cognitive Theories) ของเพียเจท์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายในวัยเด็ก
Advertisements

บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ของเด็กแต่ละวัย
โครงการศึกษาภาษาและวัฒนธรรมจีนระยะสั้น ณ ม.ชนชาติกวางสี
ทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligence) ของ Howard Gardner
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
ชีวิตครอบครัว นายธวัชชัย สาบัว ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
การสร้างความผูกพัน (กอด)
การขัดเกลาทางสังคม (socialization)
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
Development องค์ประกอบทางพันธุกรรมและการพัฒนาชีวิต กับพฤติกรรมมนุษย์
( Organization Behaviors )
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
พัฒนาการทางด้านสติปัญญาของวัยรุ่น
พัฒนาการด้านสังคมของเด็ก
การสื่อสารเพื่อการบริการ
อารมณ์ (Emotion) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
การบริบาลผู้สูงอายุ (CARE FOR ELDERLY).
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
วิทยาศาสตร์การคิด วิทยาศาสตร์การคิด
Cognitive Development
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
มนุษย์ มนุษย์เป็นสัตว์สังคม มนุษย์เป็นสัตว์โลก มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ
ทฤษฎีพัฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive Development)
การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ : ทำไม อะไรอย่างไร โดยใคร ???
แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม
คณิตศาสตร์ ในอารยธรรม กรอบความคิดทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ กับการใช้งาน
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
( Organization Behaviors )
คัชชาตา เจริญวงค์ นักจิตวิทยาคลินิก ศูนย์สุขภาพจิตที่ 4 กรมสุขภาพจิต
(Organizational Behaviors)
(Individual and Organizational)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ทฤษฎีการสร้างความรู้
สรุปผลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย ๐ - ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
การส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
TLLM.
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
แนวทางในการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๓ ENL 3701
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
John Dewey Learning by Doing โดย...นางดารุณี ประพันธ์
การอนุรักษ์ ส่งเสริมประเพณี ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
บทที่ 4 เทคโนโลยี.
ทฤษฎีการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิเคราะห์Psychoanalysis
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ENL 3701 Unit 7 ปัญหาการอ่านในระยะเริ่ม เรียน. ลักษณะการอ่านเบื้องต้น หรือระยะเริ่มเรียน Beginning Reading (in English) Beginners in Reading – นักเรียนในชั้น.
Change Management.
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
มนุษยสัมพันธ์ ( Human Relations )
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับการคิด
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ความรู้เบื้องต้นการส่งเสริมพัฒนาการและสุขภาพเด็ก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีพัฒนาการทางความคิด (Cognitive Theories) ของเพียเจท์

เพียเจท์เชื่อว่าโดยธรรมชาติแล้วมนุษย์ทุกคนมีความพร้อมที่จะมีปฏิสัมพันธ์และปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมตั้งแต่เกิด เพราะมนุษย์ทุกคนหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมซึ่งต้องมีการปรับตัวอยู่ตลอดเวลา ผลจากกระบวนการดังกล่าวจะทำให้มนุษย์เกิดพัฒนาการของเชาวน์ปัญญา

ธรรมชาติของมนุษย์มีพื้นฐานติดตัวตั้งแต่กำเนิด 2 ชนิด คือ ธรรมชาติของมนุษย์มีพื้นฐานติดตัวตั้งแต่กำเนิด 2 ชนิด คือ 1. การจัดและรวบรวม (organization) 2. การปรับตัว (adaptation) 2.1  การซึมซาบหรือดูดซึมประสบการณ์ (assimilation) 2.2  การปรับโครงสร้างทางเชาวน์ปัญญา (accomodation)

องค์ประกอบสำคัญที่เสริมพัฒนาการทางสติปัญญา 4 องค์ประกอบคือ วุฒิภาวะ (maturation) ประสบการณ์ (experience) การถ่ายทอดความรู้ทางสังคม (social transmission) กระบวนการพัฒนาสมดุลย์ (equilibration)

Piaget- devepment

Piaget’s Model

ขั้นพัฒนาการเชาว์ปัญญา ขั้นใช้ประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ (sensorimotor period) อายุ 0- 2 ปี ขั้นเริ่มมีความคิดความเข้าใจ (pre-operational period) อายุ 2-7 ปี - ขั้นกำหนดความคิดไว้ล่วงหน้า (preconceptual thought) อายุ 2-4 ปี -ขั้นคิดเอาเอง (intuitive thought)อายุ 4-7 ปี

ขั้นใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงนามธรรม (formal operational period) อายุ 11-15 ปี ขั้นใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงรูปธรรม (concrete operational period ) อายุ 7-11 ปี

ทฤษฏีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเคส พัฒนาการเชาว์ปัญญาเป็นไปตามขั้น (เหมือนทฤษฏีเพียเจท์) พัฒนาการเชาว์ปัญญาเกิดขึ้นเพราะ การเปลี่ยนแปลง

ทฤษฏีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของวิก็อทสกี้ เขากล่าวว่า การเข้าใจพัฒนาการของมนุษย์ จะต้องเข้าใจวัฒนธรรมที่เด็กได้รับการอบรม เลี้ยงดู มนุษย์จะได้รับอิทธิพลจาก “วัฒนธรรม” พัฒนาการเชาว์ปัญญาของเด็ก จะเพิ่มขึ้นก็ต่อเมื่อการได้รับความช่วยเหลือ จากผู้ใหญ่หรือผู้ใกล้ชิด

วิก็อทสกี้ แบ่งระดับสติปัญญาเป็น 2 ขั้นคือ 1.ระดับเชาว์ปัญญาขั้นเบื้องต้น (Elementary mental Processes) เป็นไปตามธรรมชาติไม่ต้องเรียนรู้ 2.ระดับเชาว์ปัญญาขั้นสูง (Higher mental processes) หมายถึง เชาว์ปัญญาที่เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับ ผู้ใหญ่ที่ให้การอบรมเลี้ยงดูถ่ายทอดวัฒนธรรมให้โดยใช้ภาษา

บทบาทของภาษาในพัฒนาการเชาว์ปัญญา 1.ภาษาสังคม (Social Speech) แรกเกิด-3 ขวบ 2.ภาษาที่พูดกับตนเอง (Egocentric Speech) 3 – 7 ขวบ มีบทบาทสำคัญในการประสานความคิดและพฤติกรรม 3.ภาษาที่พูดในใจเฉพาะตนเอง(Inner Speech) 7 ขวบขึ้นไป เป็นตัวแปรสำคัญในการพัฒนาการเชาว์ปัญญาขั้นสูง

สรุป วิก็อทสกิ้เน้นความสำคัญของสังคมและ วัฒนธรรมต่อการเรียนรู้ และพัฒนาการทางเชาว์ปัญญามาก และถือว่าการเรียนรู้เกิดจากปฏิสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างเด็กและผู้ใหญ่ (พ่อแม่ หรือครู) และเพื่อนในขณะที่เด็กอยู่ในสภาพสังคม (Social Context)

ขอขอบคุณ จาก... นายณรงค์ศักดิ์ พรมวัง นางอรุณรุ่ง โยธสิงห์ สวัสดี ขอขอบคุณ จาก... นายณรงค์ศักดิ์ พรมวัง นางอรุณรุ่ง โยธสิงห์ สวัสดี