งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Cognitive Development

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Cognitive Development"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Cognitive Development
Dr.Rungson Chomeya

2 Cognitive Development ทฤษฎีพัฒนาการทางปัญญา
พัฒนาการทางปัญญา : การเปลี่ยนแปลง การคิด การเรียนรู้ ความจำ การแก้ปัญหา เด็กแต่ละวัยจะมีขั้นของการพัฒนาที่แตกต่างกัน ทฤษฎีพัฒนาการทางปัญญา Jean Piaget (1896) นักวิทย์ นักปรัชญา จิตวิทยา ฯลฯ สนใจศึกษาพฤติกรรมเด็ก สังเกตจากบุตร 3 คน จุดอ่อนของ ทบ. อยู่ที่กลุ่มตัวอย่าง แต่ ทบ. ก็ได้รับการยอมรับไปทั่วโลก

3 แนวคิดพัฒนาการทางปัญญา
แนวคิดมาจากผลของการวิเคราะห์ทางชีววิทยา สิ่งมีชีวิตดำรงอยู่ได้ด้วยการปรับตัว วิวัฒนาการเป็นผลร่วมกันระหว่างกรรมพันธุ์และ สวล. การเปลี่ยนแปลงทางปัญญาคือการเปลี่ยนโครงสร้างการรู้คิด คล้ายโครงสร้างทางชีววิทยา โครงสร้างความคิดแบ่งเป็น 2 ประการ คือ ความคิดในรูปการกระทำ (Operative Knowledge) และในรูป

4 ของข้อเท็จจริง (Fact Knowledge)
โครงสร้างทางการรู้คิดมีการพัฒนาซับซ้อนมากขึ้นตามขั้นการพัฒนาทางปัญญา กระบวนการพัฒนา 1.กระบวนการจัดระเบียบภายใน (Organization) : การบูรณาการโครงสร้างทางความคิด เช่น เด็กเล็กๆ จะมองวัตถุก่อนจับ 2.กระบวนการปรับ (Adaptation) การรับสิ่งใหม่ๆ ไปไว้ในโครงสร้างการรู้คิดเดิม และปรับขยายโครงสร้าง

5 ขั้นการพัฒนาทางปัญญา
ลักษณะสำคัญคือ ขั้นแต่ละขั้นแตกต่างกัน มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากขั้นหนึ่งไปขั้นที่สูงกว่า ไม่มีการข้ามขั้น 1-4 การพัฒนาจะอยู่ในรูปของการบูรณาการ Integration ระหว่างขั้นต่างๆ เข้าด้วยกัน ขั้นที่ 1 ขั้นปฏิกริยาสะท้อน (0 - 2 ปี) พฤติกรรมอยู่ในรูปของ Reflex เช่น กำมือ ดีดเท้า ดูด โครงสร้างการรู้คิดยังไม่เกิดขึ้นเอง แต่เกิดตามสิ่งเร้า เช่น การซุกอกแม่ การค้นหาและดูดหัวนม แบ่งเป็น 5 ขั้นย่อย

6 ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการคิดแบบเหตุผล (2-7 ปี) มีการพัฒนาทางภาษา การใช้สัญลักษณ์ และการคิด เลียนแบบพฤติกรรมโดยไม่มีแม่แบบได้ การเล่นสมมุติ เช่น ใช้ก้อนหินแทนรถ เริ่มมีการวาดรูป (ผสมผสานการเล่นกับจินตนาการ) การมีจินตภาพในใจ (Mental Image) พัฒนาการทางภาษาพูดจะเกิดขึ้นรวดเร็วมาก ข้อจำกัดของวัย 1.Egocentrism ไม่เข้าใจความคิดคนอื่นๆ 2.Centration การรับรู้แบบมุ่งสู่จุดกลาง มองมิติเดียว 3.State สนใจผลที่เกิดขึ้น ไม่สนใจการเกิด ได้มา

7 4.Irreversibility คิดย้อนกลับยังไม่ได้ ไม่เข้าใจเรื่องการอนุรักษ์ปริมาณ (สิ่งเท่ากันแม้จะเปลี่ยนรูปร่างก็ยังคงเท่ากัน) ขั้นที่ 3 ขั้นการคิดแบบเหตุผลเชิงรูปธรรม (7-11 ปี) เข้าใจความสัมพันธ์เหตุและผล คิดย้อนกลับได้ เข้าใจการอนุรักษ์ แบ่งกลุ่ม จัดหมวดหมู่ เปรียบเทียบลำดับ ช่วง ปี เด็กจะเข้าใจเรื่องเวลาและอัตราเร็ว ขั้นที่ 4 ขั้นการคิดแบบเหตุผลเชิงนามธรรม สามารถคิดแก้ปัญหา สรุปเหตุผลได้อย่างเป็นระบบ แม้ข้อมูล

8 ไม่ครบก็สามารถคิดความเป็นไปได้ สามารถตั้งสมมุติฐาน และสรุปเหตุผลตรวจสอบสมมุติฐาน เด็กที่พัฒนาการถึงขั้นนี้ จะมีการคิดเชิงนามธรรม 3 ประการ 1.คิดเหตุผลอนุมานเชิงสมมุติ (Hypothetical Deductive Reasoning) สรุปจากกฎหรือหลักการทั่วไปไปสู่หลักการเฉพาะ เช่น A<B B<C จะได้ A<C 2.คิดหาเหตุผลจากประพจน์ (Propositional Reasoning) สามารถสรุปเหตุผลจากประพจน์เพื่ออธิบายสิ่งที่เป็นนามธรรม เช่น ถ้าเด็กเป็นนายกรัฐมนตรีจะพบอะไรบ้าง

9 3.คิดหาเหตุผลแบบอุปมานเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Inductive Reasoning) คิดแบบวิทยาศาสตร์ สรุปกฎเกณฑ์จากข้อเท็จจริงไปสู่กฎเกณฑ์ทั่วไป คิดเกี่ยวกับผลของตัวแปรได้ทีละหลายตัวแปร เช่น การทดลองสารเคมี การแกว่งของลูกตุ้ม เด็กจะตั้งสมมุติฐาน วางแผนทดลองและสังเกตอย่างเป็นระบบ GAME

10 พัฒนาการทางปัญญาของเด็กไทย
ส่วนใหญ่มักทำการศึกษาวิจัยในเด็กประถมศึกษา สอดคล้องกับทฤษฎีของเพียเจต์ตามขั้นของพัฒนาการ เด็กไทยมีพัฒนาการเฉพาะช่วงอายุช้ากว่าเด็กตะวันตก ในการศึกษาใหม่ๆ พบว่าเด็กไทยมีพัฒนาการเฉพาะช่วงอายุเข้าใกล้เคียงเด็กตะวันตกมากขึ้น เด็กชนบทมีพัฒนาการทางสติปัญญาช้ากว่าเมือง ตามทบ. พัฒนาการทางสติปัญญา ขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะ

11 พัฒนาการทางปัญญากับการศึกษา
ประสบการณ์ และกระบวนการถ่ายทอดทางสังคม พัฒนาการทางปัญญากับการศึกษา 1.ด้านการเรียนการสอน เด็กมีความอยากรู้อยากเห็นและแรงจูงใจภายในที่จะเรียนรู้และเข้าใจสิ่งรอบตัว การสอนควร เน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติการ ทดลอง สังเกต ลงมือทำ คิดคำถาม และหาคำตอบเอง การสอนต้องเน้นกระบวนการมากกว่าการเน้นถูก-ผิด เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ การมีส่วนร่วม

12 ต้องคำนึงถึงความยากของเนื้อหาที่เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก
ครูต้องทราบว่าเด็กมีโครงสร้างพัฒนาการทางปัญญาในขั้นใด สังกัปอะไรที่เขามีอยู่ หรือรับได้ 2.ด้านการพัฒนาหลักสูตร คำนึงถึงความสอดคล้องระหว่างประสบการณ์ต่างๆ ที่กำหนดไว้ในหลักสูตร เด็กประถมศึกษา คิดเป็นระบบได้ เข้าใจการสอนที่เป็นทางการได้ มีพัฒนาการทางภาษา ความจำดีมาก บางครั้งอาจจะจำคำนั้นได้โดยไม่รู้ว่าสังกัปของสิ่งนั้นคืออะไร

13 เด็กมัธยมศึกษาคิดแบบเหตุผลเชิงนามธรรมได้ เรียนรู้ วิเคราะห์หลักเหตุและผลได้ ค้นหาคำตอบด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ได้


ดาวน์โหลด ppt Cognitive Development

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google