โครงการพัฒนาห้องสมุด 3ดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

ข้อมูลบุคลากร รวมทั้งสิ้น 54 คน ประเภท ชาย หญิง รวม
PCTG Model อริยมงคล 55.
โรงเรียนดีประจำตำบล.
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
การบริหารงานของห้องสมุด
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
แผนกลยุกต์การจัดการศึกษาเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1.
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
มาตรฐานการศึกษา วีระ อุสาหะ.
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การประเมินผลการเรียน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการขับเคลื่อนกรอบ คุณวุฒิแห่งชาติ สู่การจัดการเรียนการสอน สถานศึกษาเอกชนประเภท อาชีวศึกษา.
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
การประเมินเพื่อประกาศเกียรติคุณ
ความดีเด่นของสถานศึกษา
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการภายใต้ปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
ผลการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
แนวทางการดำเนินงาน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในโรงเรียนเอกชน
หลักเกณฑ์การจัดตั้งสถาบัน การอาชีวศึกษา
การจัดทำแผนปฏิบัติการ ศึกษาพัฒนาและผลิตสื่อ ทางประวัติศาสตร์ในชุมชน
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เล่าสู่กันฟัง ๑ อำเภอ ๑ โรงเรียนในฝัน
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษา
โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียน
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
การพัฒนาคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาไทย ปี ๒๕๕๓
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
โครงการพัฒนา ห้องเรียนในฝัน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
โรงเรียนอนุบาลควนขนุน
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ สพป.สุพรรณบุรี เขต ๒
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
เล่าสู่กันฟัง ดร.รังสรรค์ มณีเล็ก
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
ผอ.สพท. และหัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผนทั่วประเทศ
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ สถานศึกษา ที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน.
“หนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน” 921 โรงเรียน
1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
การใช้ข้อสอบกลางในการ สอบปลายปี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาห้องสมุด 3ดี (ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555)

วัตถุประสงค์ เพื่อยกระดับคุณภาพห้องสมุดในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เพื่อจัดให้มีหนังสือและสื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ เพียงพอต่อความต้องการและเหมาะสมกับผู้เรียน ครู ผู้บริหาร เพื่อจัดภูมิทัศน์ และบรรยากาศห้องสมุดให้เอื้อต่อการอ่านและการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาและจัดให้มีห้องสมุด ครูบรรณารักษ์ หรือผู้ที่ทำหน้าที่บรรณารักษ์ทุกโรงเรียน

แนวคิดหลักในการพัฒนาห้องสมุด 3 ดี แนวคิดหลักในการพัฒนาห้องสมุด 3 ดี หนังสือและสื่อการเรียนรู้ดี บรรยากาศและสถานที่ดี ครูบรรณารักษ์และกิจกรรมดี

ผลที่คาดว่าจะได้รับ รร.สังกัด สพฐ.ทุกโรงเรียนได้รับการพัฒนาให้มีห้องสมุดที่มีหนังสือ สื่อการเรียนรู้ สื่อ ICT ทันสมัย หลากหลาย สอดคล้องกับความต้องการของนักเรียน ครู ผู้บริหาร ผู้ปกครองและชุมชน รร. สังกัด สพฐ. ทุกโรงเรียนมีห้องสมุดที่ทันสมัยได้รับการปรับปรุงทั้ง ด้านภูมิทัศน์ และบรรยากาศที่เอื้อต่อการอ่านและการเรียนรู้ รร. สังกัด สพฐ. ทุกโรง มีครูบรรณารักษ์ หรือผู้ที่ทำหน้าที่บรรณารักษ์ที่มีคุณภาพ สามารถบริหารจัดการห้องสมุดแนวใหม่ จัดกิจกรรมห้องสมุดและกิจกรรมส่งเสริมการอ่านได้อย่างมีคุณภาพ

หนังสือและสื่อการเรียนรู้ดี กิจกรรมห้องสมุด 3 ดี ดี 1 หนังสือและสื่อการเรียนรู้ดี วิเคราะห์ จัดหา จัดทำ รวบรวม ตรวจสอบคุณภาพ และพัฒนาสือสิ่งพิมพ์ สื่อมัลติมีเดีย สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อส่งเสริมการอ่านและสื่อเสริมความรู้ที่หลากหลาย ส่งเสริมครูบรรณารักษ์และครูกลุ่มสาระอื่นในการจัดทำหนังสือ สื่อส่งเสริมการอ่าน การจัดกิจกรรมห้องสมุด และกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน จัดประกวดหนังสือดีมีคุณภาพที่ผลิตโดยหน่วยงาน/องค์กร ผลงานเขียนของครู/นักเรียน

บรรยากาศและสถานที่ดี กิจกรรมห้องสมุด 3 ดี ดีที่ 2 บรรยากาศและสถานที่ดี จัดทำและเผยแพร่แบบแปลนห้องสมุดรูปแบบต่าง ๆ จัดทำรายการมาตรฐานครุภัณฑ์ประกอบห้องสมุด จัดทำคู่มือการจัดห้องสมุดและการบริหารจัดการห้องสมุด ปรับปรุง ซ่อมแซม ตกแต่งห้องสมุดให้เป็นห้องสมุดสมัยใหม่ และจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการอ่านและการเรียนรู้ จัดให้มีพื้นที่เพื่อทำห้องสมุดในโรงเรียนขนาดเล็กหรือโรงเรียนที่ยังไม่มีห้องสมุดเป็นสัดส่วน

บรรณารักษ์และกิจกรรมดี กิจกรรมห้องสมุด 3 ดี ดีที่ 3 บรรณารักษ์และกิจกรรมดี จัดให้มีครูบรรณารักษ์ หรือผู้ที่ทำหน้าที่บรรณารักษ์ทุกโรงเรียน ดำเนินการเอง และร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน ในการพัฒนา ครูบรรณารักษ์ยุคใหม่ จัดทำคู่มือ/แนวทางการจัดซื้อหนังสือ/สื่อสิ่งพิมพ์ การคัดเลือกหนังสือ การดูแล/ซ่อมแซม/รักษาหนังสือ และสื่อการเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน การใช้ห้องสมุดในการจัดการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระ

กลุ่มเป้าหมาย รร.สพฐ.ทุกโรง (31,820 รร.) แบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มเป้าหมาย รร.สพฐ.ทุกโรง (31,820 รร.) แบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 รร. พัฒนาเพื่อยกระดับมาตรฐาน 10,000 โรงเรียน - รร. พัฒนาสู่ระดับสากล 500 โรงเรียน (ห้องวิทย์ 207 รร.) - รร. ดีระดับอำเภอ (รร.ในฝัน) 2,500 โรงเรียน - รร. ดีระดับตำบล 7,000 โรงเรียน กลุ่มที่ 2 รร. ขนาดเล็กสู่ศูนย์การเรียนรู้คุณภาพ จำนวน 7,000 โรงเรียน กลุ่มที่ 3 รร. การศึกษาพิเศษ การศึกษาสงเคราะห์ จำนวน 93 โรงเรียน กลุ่มที่ 4 รร. ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 2,930 โรงเรียน กลุ่มที่ 5 รร. อื่น ๆ 11,797 โรงเรียน

สรุปงบประมาณ 3,364,754,500 ล้านบาท

การประสานการทำงานกับหน่วยงานอื่น หน่วยงานภายใน หน่วยงานภายนอก สทร. สศศ. สมป. สทศ. สพค. สนผ. สนก. กศน. สกอ. TK Park สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ สมาคมผู้จัดพิมพ์และจำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย ฯลฯ

แนวทางการจัดซื้อ หนังสือ สื่อสิ่งพิมพ์

เกณฑ์การคัดเลือกหนังสือ สื่อสิ่งพิมพ์ 1. เนื้อหาสาระ 2. ความถูกต้องของข้อมูล 3. ภาพประกอบ 4. การใช้ถ้อยคำสำนวน ภาษา 5. ความถูกต้องตามอักขรวิธี 6. ราคา และส่วนลด 7. องค์ประกอบอื่น ๆ

1. หนังสืออ้างอิง พระราชนิพนธ์ พจนานุกรม สารานุกรม ฯลฯ ประเภทหนังสือ 1. หนังสืออ้างอิง พระราชนิพนธ์ พจนานุกรม สารานุกรม ฯลฯ 2. หนังสือสารคดี ให้ความรู้ครอบคลุมวิชาการสาขาต่าง ๆ 3. หนังสือบันเทิงคดี นวนิยาย เรื่องสั้น บทละคร บทร้อยกรอง ฯลฯ 4. หนังสือเด็กและเยาวชน เหมาะสมกับวัยทั้งเนื้อหา ภาพ สีสัน และการนำเสนอ

5. หนังสือเสริมประสบการณ์ หนังสืออ่านเพิ่มเติม หนังสืออ่านนอกเวลา หนังสือส่งเสริมการอ่าน ฯลฯ 6. หนังสือ สื่อสิ่งพิมพ์สำหรับครู หลักสูตร ตำรา ทฤษฎี เทคนิคการจัดการเรียนการสอน คู่มือครู ฯลฯ 7. วารสาร จุลสาร นิตยสาร 8. หนังสือพิมพ์ 9. หนังสือแปลและหนังสือต่างประเทศ

จะหารายชื่อหนังสือจากที่ไหนดี ? 1. หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ที่จัดประกวดหนังสือ เช่น สพฐ. มีคณะกรรมการคัดเลือก เช่น มูลนิธิหนังสือเด็ก TK park เป็นต้น 2. บทวิจารณ์ และแนะนำหนังสือจากสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือพิมพ์ วารสาร วิทยุ โทรทัศน์ เป็นต้น 3. สำรวจความต้องของผู้ใช้บริการ 4. รายการหนังสือจากสำนักพิมพ์ต่าง ๆ 5. เว็บไซต์ 6. งานนิทรรศการ/มหกรรมหนังสือ เป็นต้น

สพท. จะช่วยโรงเรียนในเรื่องใดบ้าง ? 1. ชี้แจงทำความเข้าใจ ให้คำปรึกษาแนะนำ โดยยึดระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างของ สคส. สพฐ. โดยใช้แนวทางเดียวกับการจัดซื้อหนังสือตามโครงการเรียนฟรี 15 ปี (ยึดหลักความโปร่งใส ตรวจสอบได้) 2. ให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อคัดเลือกและจัดซื้อหนังสือ สื่อสิ่งพิมพ์ (ภาคี 4 ฝ่าย) 3. จัดนิทรรศการ/ตลาดนัดหนังสือ 4. นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล และรายงาน

แล้วโรงเรียนต้องดำเนินการอย่างไร ? 1. ศึกษาระเบียบการจัดซื้อ จัดจ้าง จัดเตรียมเอกสาร 2. สำรวจข้อมูลหนังสือ สิ่งพิมพ์ที่มีอยู่ และยังใช้การได้ 3. สำรวจความต้องการหนังสือ สิ่งพิมพ์ และจัดลำดับความต้องการ 4. แต่งตั้งคณะกรรมการจากภาคี 4 ฝ่าย 5. ศึกษาข้อมูลร้านค้า/สำนักพิมพ์ และติดต่อประสานงานการจัดซื้อยึดความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และนำส่วนลดจัดซื้อหนังสือต่อ 6. นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล และรายงาน

แนวคิดในการเลือกซื้อหนังสือ สื่อสิ่งพิมพ์ 1. ผู้มีส่วนร่วมหลัก > ครูบรรณารักษ์ > ผู้แทนครู 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ > ผู้แทนนักเรียน > ผู้แทนผู้ปกครอง > ผู้แทนชุมชน

2. ห้องสมุดต้องมีหนังสือและสื่อต่อไปนี้ > หนังสือพระราชนิพนธ์ พระนิพนธ์ นิพนธ์ หนังสือในพระราชวิจารณ์ของสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ หนังสือสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน หนังสือพจนานุกรมไทย ไทย-อังกฤษ อังกฤษ-ไทย > หนังสือดีที่เด็กควรอ่าน เน้นหนังสือประเภทชนะการประกวด หนังสือที่ผ่านการคัดเลือกโดยคณะกรรมการจากหน่วยงาน/องค์กร

> หนังสือเพื่อการศึกษาค้นคว้าของครู > หนังสือเสริมความรู้ ส่งเสริมการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ หนังสืออ่านประกอบ หนังสือเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม หนังสือความรู้ด้านวิชาการสาขาต่าง ๆ > หนังสือเพื่อการศึกษาค้นคว้าของครู > สื่ออิเล็กทรอนิกส์

แบ่งงบประมาณจัดซื้อหนังสือ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แบ่งงบประมาณจัดซื้อหนังสือ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หนังสือ สื่อสิ่งพิมพ์ ร้อยละ 70 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ร้อยละ 30