การเจรจาเปิดตลาดสินค้าอุตสาหกรรมและประมง ภายใต้ WTO นายวีรชัย วงศ์บุญสิน รองประธานคณะกรรมการกฎระเบียบและการค้าระหว่างประเทศ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย 20 กุมภาพันธ์ 2551
มาตรฐานระหว่างประเทศ 20-02-50 Global Chain Risk Management ? Traceability Globally Connected Sectoral Food Standard Land Use Fossil Gas มาตรฐานระหว่างประเทศ มาตรฐานในประเทศ มาตรฐานภาคเอกชน ประเทศ คู่ค้า 1. ศึกษา Perspective ของประเทศพัฒนาแล้ว (10 ปี) 2. Technology Transfer เพื่อพัฒนามาตรฐานสินค้า 3. ประสานมาตรฐานกับประเทศ เพื่อนบ้าน (Harmonization) 4. สร้าง Local Consumption ให้แข็งแรง ด้วยการนำเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ 5. Adaptive efficiency ข้อเสนอแนะ CO2 Transboundary Impact Climate Change Biodiversity Agriculture + Foods Transportation Food Miles Bio Fuel Sustainability Security Safety GMOs
NTMs / NTBs ที่สำคัญและเป็นอุปสรรคต่อการค้าระหว่างประเทศ มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช มาตรการเกี่ยวกับอุปสรรคเทคนิคต่อการค้า มาตรการว่าด้วยแหล่งกำเนินสินค้า มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม มาตรการด้านแรงงาน มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาด/มาตรการตอบโต้การอุดหนุน/มาตรการปกป้อง มาตรการกำหนดปริมาณการนำเข้า/ควบคุมการนำเข้า/การมีข้อกำหนดการนำเข้า Safety Security Sustainability
SWOT Analysis of Thai SMEs STRENGTHS WEAKNESSES คล่องตัว รวดเร็ว มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง (เกษตร,หัตถกรรม,งานฝีมือ) ไม่ประหยัดจากขนาด การเข้าถึงข้อมูลไม่เท่าเทียมรายใหญ่ การเข้าถึงแหล่งเงินทุน ขาดการรวมกลุ่มทางธุรกิจ ขาดมาตรฐานระดับสากล OPPORTUNITIES THREATS นโยบายสนับสนุนจากรัฐ ความสามารถในการแข่งขันเชิงเปรียบเทียบ กับคู่แข่งขันที่ไม่ได้ทำข้อตกลง FTA กับคู่ค้า การเติบโตในตลาดใหม่ ปัญหาเศรษฐกิจ ค่าเงินบาท ราคาน้ำมัน อุปสรรคจากกฎระเบียบการค้าที่ไม่เอื้อต่อธุรกิจ การแข่งขันจากสินค้าต่างประเทศ
หัวข้อพื้นฐานเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม
CSR อุปสรรค หรือ โอกาส “มาตรฐานว่าด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ISO Guidance Standard on Responsibility - ISO 26000” Prof. Michael E. Porter และ Mr. Mark R. Kramer กล่าวไว้ใน Harvard Business Review ฉบับเดือนธันวาคม 2549 ว่า “การทำกิจกรรม CSR เป็นอะไรที่มากกว่าต้นทุน การถูกบังคับ หรือการทำการกุศล เพราะกิจกรรมดังกล่าวสามารถนำมาซึ่งโอกาสและนวัตกรรมในการทำธุรกิจ และความได้เปรียบในการแข่งขัน”
โครงการ “มาตรฐานความคุ้มค่าเงิน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง” โครงการ “มาตรฐานความคุ้มค่าเงิน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง” โดย นายวีรชัย วงศ์บุญสิน ประธานคณะอนุกรรมการติดตามผลกระทบจากการเปิดการค้าเสรี
Functional Benefit + Emotional Benefit Monetary Cost + Time Cost หลักการและเหตุผล What’s matter now? Value = Functional Benefit + Emotional Benefit Monetary Cost + Time Cost
Functional Benefit + Emotional Benefit Monetary Cost + Time Cost หลักการและเหตุผล What it must be? Value = Functional Benefit + Emotional Benefit Monetary Cost + Time Cost
How to.. ช่วยในการตัดสินใจ เรียกร้องสิทธิ์ ในสิทธิ์ผู้บริโภค ผู้ประกอบการ เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้บริโภค เรียกร้องสิทธิ์ ตัดสินใจซื้อด้วย เหตุผล ใช้ความคุ้มค่าเงินจูงใจการตัดสินใจ ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาประสิทธิภาพ สร้างความรู้และความตระหนัก ด้านธรรมาภิบาล ความรับผิดชอบต่อสังคม สร้างความตระหนัก ความรู้ ในสิทธิ์ผู้บริโภค พัฒนาเครื่องมือ ช่วยในการตัดสินใจ
กิจกรรมหลักในโครงการ เสริมสร้างความตระหนัก และองค์ความรู้กับผู้ประกอบการ ให้มีความเข้าใจในสิทธิในการบริโภค ประชาสัมพันธ์ตรามาตรฐานความคุ้มค่าเงิน ให้ผู้ประกอบการและผู้บริโภคได้ใช้อย่างแพร่หลาย
กิจกรรมหลักในโครงการ สร้างและการพัฒนาเครื่องมือเพื่อให้ผู้ประกอบการได้ใช้เป็นตัวช่วยสำหรับนำเสนอต่อผู้บริโภค ในการตัดสินใจบริโภคอย่างมีเหตุผลพอเพียงกับความต้องการที่แท้จริง เสริมสร้างธรรมาภิบาลและภาพลักษณ์ที่ดีให้กับผู้ประกอบการ โดยการเข้าร่วมโครงการและจดทะเบียนใช้ตรามาตรฐานความคุ้มค่าเงิน ส่งเสริมสนับสนุนให้ตรามาตรฐานความคุ้มค่าเงิน เป็นปัจจัยจูงใจทางการตลาดที่สำคัญต่อผู้บริโภค
ขอขอบคุณ