ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดระดับกรม อย. ประเด็น ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผู้ดำเนินการ
Advertisements

ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน คป.สอ.สตูล
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
เป้าหมายการให้บริการและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มตรวจสอบ ติดตาม ด้านยา วัตถุเสพติด และ เครื่องมือแพทย์ ( ตส.1 ) สำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข.
ตัวชี้วัดสำคัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา วันที่ 26 พฤศจิกายน
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ปิงปอง 7 สี สร้างภาคีสุขภาพจิต “สู้เบาหวาน ความดัน”
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายด้านบริหาร.
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประจำปี 2551 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

วิสัยทัศน์ Slide นี้ คณะกรรมาธิการฯ ไม่เน้น เป็นผู้นำในการพัฒนาสังคมฐานความรู้ ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างต่อเนื่องยั่งยืน องค์ประกอบวิสัยทัศน์ : 1) ผู้บริโภคอุดมปัญญา มีพฤติกรรมการบริโภคอย่างเหมาะสม 2) ผู้ประกอบการมีศักยภาพในการนำเสนอ (ผลิต นำเข้า และจำหน่าย) ผลิตภัณฑ์สุขภาพและข้อมูลที่ถูกต้องต่อสังคม 3) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ความร่วมมือในการพัฒนา แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ และนำไปใช้อย่างต่อเนื่อง 4) อย. เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มีระบบคุณภาพ บุคลากรมีศักยภาพสูง และมีคุณภาพ วิสัยทัศน์ของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา “เป็นผู้นำในการ พัฒนาสังคมฐานความรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างต่อเนื่องยั่งยืน” Slide นี้ คณะกรรมาธิการฯ ไม่เน้น ท่านเลขาธิการฯ สามารถพูดผ่าน ๆ ได้

Slide นี้ คณะกรรมาธิการฯ ไม่เน้น ท่านเลขาธิการฯ สามารถพูดผ่าน ๆ ได้ พันธกิจ 1. กำกับดูแล ส่งเสริม และพัฒนาให้ผู้ประกอบการสามารถ นำเสนอผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และ ข้อมูลที่ถูกต้องต่อสังคม 2. พัฒนาศักยภาพผู้บริโภคให้มีความรู้ และพฤติกรรมการ บริโภคเพื่อสุขภาพ 3. ส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการ ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ 4. พัฒนาศักยภาพองค์กรไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ มีระบบ คุณภาพ บุคลากรมีศักยภาพสูง และมีคุณธรรม โดยมีพันธกิจ ดังนี้ 1. กำกับดูแล ส่งเสริม และพัฒนาให้ผู้ประกอบการสามารถนำเสนอ ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และข้อมูลที่ถูกต้องต่อสังคม 2. พัฒนาศักยภาพผู้บริโภคให้มีความรู้ และพฤติกรรมการบริโภค เพื่อสุขภาพ 3. ส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนิน งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ 4. พัฒนาศักยภาพองค์กรไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ มีระบบคุณภาพ บุคลากรมีศักยภาพสูง และมีคุณธรรม Slide นี้ คณะกรรมาธิการฯ ไม่เน้น ท่านเลขาธิการฯ สามารถพูดผ่าน ๆ ได้

ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 คุณภาพผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 คุณภาพผลิตภัณฑ์สุขภาพ แผนงาน/โครงการ ตัวชี้วัด/เป้าหมาย 1. โครงการความปลอดภัยด้านอาหาร 2. โครงการพัฒนาคุณภาพยาและวัคซีน 3. โครงการความปลอดภัยด้าน เครื่องสำอาง 4. การกำกับดูแลผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารมีคุณภาพ มาตรฐาน ปลอดภัย จากสารปนเปื้อน 6 ชนิด ร้อยละ 95 สถานที่ผลิตอาหาร 54 ประเภทได้มาตรฐาน GMP ร้อยละ 95 ผลิตภัณฑ์ยามีคุณภาพมาตรฐานตาม ที่ขึ้นทะเบียน ร้อยละ 95 เครื่องสำอางมีคุณภาพมาตรฐาน ตามกฎหมาย ร้อยละ 90 ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสถานประกอบการที่ ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่ กำหนด ร้อยละ 85

ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 คุณภาพผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ต่อ) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 คุณภาพผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ต่อ) แผนงาน/โครงการ ตัวชี้วัด/เป้าหมาย 5. การควบคุมตัวยาและสารเสพติด 6. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชน 7. โครงการพัฒนาระบบ Logistic ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ผลิตภัณฑ์วัตถุเสพติดที่นำเข้า ณด่าน อย. ถูกต้องตามที่สำแดงในคำขออนุญาตนำเข้า ร้อยละ 100 ผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชนมีคุณภาพได้ มาตรฐานร้อยละ 90 Hardware รองรับการใช้งานครอบคลุม ส่วนกลาง มีระบบเครือข่ายรองรับทั้งส่วนกลางและ ส่วนภูมิภาค ระบบงาน Logistic 12 ระบบงาน

ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 วัฒนธรรมการบริโภคเพื่อสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 วัฒนธรรมการบริโภคเพื่อสุขภาพ แผนงาน/โครงการ ตัวชี้วัด/เป้าหมาย 1. โครงการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค 1.1 การถ่ายทอดความรู้ด้านผลิตภัณฑ์ สุขภาพ 1.2 การสร้างความตระหนักและความ เข้าใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ 1.3 โครงการ อย. น้อย 1.4 โครงการอย่าหลงเชื่อง่าย 1.5 โครงการอาหารปลอดภัย ผู้บริโภครู้สิทธิ ร้อยละ 90 ผู้บริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์ สุขภาพที่ถูกต้อง ร้อยละ 85 ผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นต่อผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่ได้รับการรับรองจาก อย. ร้อยละ 90

การสนับสนุนจังหวัด ประจำปีงบประมาณ 2551 การสนับสนุนจังหวัด ประจำปีงบประมาณ 2551 (งบประมาณที่ได้รับจัดสรร ตั้งไว้ที่สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข) 1. งบประมาณ 83.475 ล้านบาท แผนงบประมาณ : ปรับปรุงและพัฒนาระบบสุขภาพแห่งชาติ และระบบบริการสาธารณสุข รวมทั้งระบบ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ผลผลิตที่ 4 : ประชาชนได้รับการเฝ้าระวัง ภัยสุขภาพและ การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพตามสภาพ ปัญหาของพื้นที่

การสนับสนุนจังหวัด ประจำปีงบประมาณ 2551 (ต่อ) การสนับสนุนจังหวัด ประจำปีงบประมาณ 2551 (ต่อ) 2. สนับสนุนงาน คบส. ในรูปแบบต่าง ๆ ตามโครงการ 2.1 โครงการ Food Safety และ Mobile Unit for Food Safety - สนับสนุนวิชาการ และเทคนิคใหม่ ๆ - พัฒนา Competency เจ้าหน้าที่ 2.2 โครงการความปลอดภัยด้านเครื่องสำอาง 2.3 โครงการพัฒนาศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (One Stop Service) 2.4 โครงการพัฒนาระบบ Logistic ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2.5 โครงการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชน 2.6 โครงการ อย. น้อย 2.7 โครงการด่านอาหารและยาส่วนภูมิภาค (22 จังหวัด)

ขอขอบคุณ