กลุ่มที่ 1 ศูนย์สารสนเทศด้านสาธารณสุขและสุขภาพ 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ (OSM) เห็นด้วย เพราะ มีความเข้มแข็งสามารถชี้นำทิศทาง นโยบายและเป็นคลังสมองของ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
การทำงานเชิงรุก การทำงานเชิงรุก
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
การสื่อสารแผนที่ยุทธศาสตร์ ระดับองค์กร ระดับภาค ระดับพื้นที่
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
สวัสดีครับ.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
แผนปฏิบัติการสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๖. ประเด็นพูดคุย พิจารณาร่างคณะทำงาน กำหนดแนวทางการประชุมกลุ่มตาม ประเด็นยุทธศาสตร์ แบบฟอร์ม กำหนดวันประชุมกลุ่ม.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 1st ปัญหา อุปสรรค และกลยุทธ์ ส่งเสริมงานวิจัยด้าน ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 3rd ปัญหา อุปสรรค แนวโน้มของ อุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 4 th กลยุทธ์การส่งเสริมและพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพอุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ.
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข อง โดย … นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและ ยุทธศาสตร์ 15 มีนาคม 2549.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
โดย นายคันฉัตร ตันเสถียร รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
แผนงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อการขับเคลื่อนงาน อาหารและโภชนาการเชิง รุก โดย นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 9 กรมอนามัย.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 1 ศูนย์สารสนเทศด้านสาธารณสุขและสุขภาพ 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ (OSM) เห็นด้วย เพราะ มีความเข้มแข็งสามารถชี้นำทิศทาง นโยบายและเป็นคลังสมองของ กสธ. สนย. ต้องเป็นผู้นำ ชี้นำ ให้ข้อเสนอแนะแผนยุทธศาสตร์ทั่วบทบาทหลัก/พึง ประสงค์/บูรณาการ ขาดบุคลากรที่เข้มแข็ง 2. ลดความซ้ำซ้อนของบทบาทหน้าที่ เห็นด้วย เพราะ เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า 3. เอื้ออำนวยให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีหุ้นส่วนภาคประชาสังคม ตลอดจนภูมิภาค เห็นด้วย เพราะ เรื่องของนโยบาย และยุทธศาสตร์ ต้องเปิดให้การมีส่วนร่วมเพื่อเกิดการ ยอมรับสามารถนำสู่การปฏิบัติ และบรรลุเป้าหมายตามความเหมาะสม 4. บูรณาการการแปลงยุทธศาสตร์สู่พลังทวีคูณในทางปฏิบัติระหว่าง agenda/function/area โดยยึดหลักความคุ้มค่า เห็นด้วย เพราะ เพื่อทำให้เกิดการทำงานที่มีพลังและเป็นรูปธรรมทุกภาคส่วน

กลุ่มที่ 2 อำนวยการและประสานระดับนโยบาย 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ (OSM) เห็นด้วย เพราะ ยกระดับการทำงานของกลุ่มอำนวยการปัจจุบันให้มี 2. ลดความซ้ำซ้อนของบทบาทหน้าที่ เห็นด้วย เพราะ รวมการทำงานที่มีลักษณะคล้ายๆ กันไว้ด้วยกันและเอื้อเสริมกัน 3. เอื้ออำนวยให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีหุ้นส่วนภาคประชาสังคม ตลอดจนภูมิภาค เห็นด้วย 4. บูรณาการการแปลงยุทธศาสตร์สู่พลังทวีคูณในทางปฏิบัติระหว่าง agenda/function/area โดยยึดหลักความคุ้มค่า เห็นด้วย

กลุ่มที่ 3 วิจัย-พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ (OSM) เห็นด้วย เพราะ สอดคล้องกับบทบาทเดิม เสริมพลังในการทำงานเข้มแข็งมากขึ้น 2.ลดความซ้ำซ้อนของบทบาทหน้าที่ เห็นด้วย เพราะ มีความซ้ำซ้อนการทำงานจริง 3.เอื้ออำนวยให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีหุ้นส่วนภาคประชาสังคม ตลอดจนภูมิภาค เห็นด้วย เพราะ องค์กร สนย. มีส่วนร่วมกับภาคีแต่ยังขาดการมีส่วนร่วมกับภาคีภาคประชาชน สังคม 4. บูรณาการการแปลงยุทธศาสตร์สู่พลังทวีคูณในทางปฏิบัติระหว่าง agenda/function/area โดยยึดหลักความคุ้มค่า เห็นด้วย เพราะ แต่ก็ยังมีอุปสรรคเพราแต่ละองค์กรต่างก็มีเอกภาพของตนเอง

กลุ่มที่ 4 สื่อสาร-บูรณาการนโยบายและยุทธศาสตร์ 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ (OSM) เห็นด้วย เพราะ ภารกิจ สนย. ปัจจุบัน ตรงกับ OSM อยู่แล้วเพียงแต่ต้องปรับศักยภาพเพิ่มให้ เป็น OSM เต็มรูปแบบ 2. ลดความซ้ำซ้อนของบทบาทหน้าที่ เห็นด้วย เพราะ ประสิทธิภาพในการทำงานดีขึ้นอำนวยความสะดวกลูกค้าได้ดีกว่า 3. เอื้ออำนวยให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีหุ้นส่วนภาคประชาสังคม ตลอดจนภูมิภาค เห็นด้วย เพราะ หลักธรรมาภิบาล เพิ่มจากเดิมเป็นทุกขั้นตอนกระบวนการให้ภาคีมีส่วนร่วมโดยเฉพาะขั้นตอน นำแผนสู่การปฏิบัติ 4. บูรณาการการแปลงยุทธศาสตร์สู่พลังทวีคูณในทางปฏิบัติระหว่าง agenda/function/area โดยยึดหลักความคุ้มค่า เห็นด้วย เพราะ ทำอยู่แล้วที่ควรเป็นให้เข้มข้นขึ้น

ความเห็นเพิ่มเติม ใครจะเป็นผู้มีอำนาจในการตัดสินใจ และผลักดันโครงสร้างใหม่ วิธีการสรรหาผู้บริหาร (ผู้อำนวยการ) จะใช้วิธีใด

กลุ่มที่ 5 วัด-ประเมินผลนโยบายและยุทธศาสตร์ 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ (OSM) เห็นด้วย เพราะ เป็นการปรับศักยภาพตนเองให้สอดคล้องกับบริบทของสังคมเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง 2. ลดความซ้ำซ้อนของบทบาทหน้าที่ เห็นด้วย เพราะ เป็น FACT มี Fragmentation ในการทำงานขาดการมองเป้าประสงค์ใน ภาพรวม 3. เอื้ออำนวยให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีหุ้นส่วนภาคประชาสังคม ตลอดจนภูมิภาค เห็นด้วย เพราะ จะทำให้เกิดการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสำนึก รับผิดชอบ ส่วนร่วม โปร่งใสของภาคีหุ้นส่วนส่งผลให้เกิดความยั่งยืน 4. บูรณาการการแปลงยุทธศาสตร์สู่พลังทวีคูณในทางปฏิบัติระหว่าง agenda/function/area โดยยึดหลักความคุ้มค่า เห็นด้วย เพราะ หลักการดีโดยที่แนวทางการปฏิบัติควรประนีประนอมเพื่อไม่ให้เกิดความ ขัดแย้ง