งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และจัดระบบความสัมพันธ์ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนกับส่วนราชการ และระบบการติดตามประเมินผล สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์ การกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 3) พ.ศ. ....

2 บทนำ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
1 2 พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ พ.ศ. 2542 3 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การกระจายอำนาจในช่วงระยะ 10 ปีที่ผ่านมา 4 ปัญหาอุปสรรค (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 11 (พ.ศ ) 5 2 6 การประเมินสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการกระจายอำนาจ

3 วิสัยทัศน์ “ประชาชนในท้องถิ่นจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เข้าถึงการบริการสาธารณะได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรมมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นองค์กรที่มีความเข้มแข็ง มีอิสระ และเป็นหน่วยงานหลักในการจัดบริการสาธารณะที่มีคุณภาพ ระบบความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาชน ภาคประชาสังคมอื่น และภาคเอกชนที่ชัดเจน”

4 พันธกิจ พัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารจัดการของ อปท. เพื่อสร้างความเป็นเจ้าของร่วมกัน มีระบบการติดตามตรวจสอบและประเมินผลที่ชัดเจน ส่งเสริมให้ อปท. มีความเข้มแข็งทางด้านการเงินการคลัง การบริหารทรัพยากรบุคคล และสร้างภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดผลกระทบจากปัจจัยภายในและภายนอก ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค รัฐวิสาหกิจ อปท. ประชาชน ภาคประชาสังคม ชุมชนท้องถิ่น และภาคเอกชน

5 วัตถุประสงค์และเป้าหมายหลัก
เพื่อให้มีการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. อย่างต่อเนื่อง ประชาชน และชุมชนท้องถิ่นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และสามารถขจัดความ เหลื่อมล้ำในสังคม อปท. มีอิสระและมีความเข้มแข็งทางการเงินการคลัง มีประสิทธิภาพในการใช้ จ่ายเงินที่เพิ่มขึ้น ราชการบริหารส่วนกลางและราชการบริหารส่วนภูมิภาคลดหรือยุติบทบาทใน พื้นที่ ให้ อปท. เป็นผู้ปฏิบัติแทน โดยส่วนกลางกำหนดมาตรฐาน ให้ความรู้ทางเทคนิควิชาการ

6 วัตถุประสงค์และเป้าหมายหลัก
วัตถุประสงค์ ต่อ พัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคลของ อปท. เพื่อรองรับการกระจายอำนาจ แก้ไขกฎหมาย เพื่อให้ อปท. ดำเนินการตามภารกิจที่ถ่ายโอน และกฎ ระเบียบต่างๆ ที่เป็นอุปสรรค มีการผ่อนคลาย เพื่อเอื้อให้ อปท. มีความเป็นอิสระมากขึ้น ระบบความสัมพันธ์ระหว่างราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค รัฐวิสาหกิจ อปท. ประชาชน ภาคประชาสังคม ชุมชนท้องถิ่น และภาคเอกชน เกิดภาคีเครือข่ายการทำงานร่วมกัน

7 วัตถุประสงค์และเป้าหมายหลัก
ประชาชนในท้องถิ่นได้รับการบริการสาธารณะที่ได้มาตรฐาน ทั่วถึง และเป็นธรรม และเข้าไปมีส่วนร่วมในทุกกระบวนการของการบริหารจัดการของ อปท. มากขึ้น อปท. มีความเป็นอิสระมากขึ้น และสัดส่วนรายได้ของ อปท. มีอัตราเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยภายในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ อปท.มีรายได้เพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๓๕ บุคลากรที่ถ่ายโอนมีความมั่นใจด้านความมั่นคงมีหลักประกันความก้าวหน้า และบุคลากรของท้องถิ่นได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะเพิ่มขึ้น

8 วัตถุประสงค์และเป้าหมายหลัก
เป้าหมายหลัก ต่อ มีการแก้ไขกฎหมายตามภารกิจที่ถ่ายโอน และปรับปรุงกฎ ระเบียบต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคในการดำเนินงาน ให้แล้วเสร็จภายใน ๒ ปี ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ อปท. ระหว่าง อปท. ด้วยกันเอง และ อปท. กับทุกภาคส่วนมีความเชื่อมโยงเป็นภาคีเครือข่ายซึ่งกันและกัน

9 ยุทธศาสตร์และแนวทางการกระจายอำนาจ
การส่งเสริมให้ อปท. มีอิสระและเป็นหน่วยงานหลักในการจัดบริการสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ 1 ยุทธศาสตร์ 2 การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางการเงินการคลังของ อปท. การพัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคลของ อปท. เพื่อรองรับการกระจายอำนาจ ยุทธศาสตร์ 3 การส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ อปท. และระหว่าง อปท. ด้วยกันเอง ยุทธศาสตร์ 4

10 ยุทธศาสตร์และแนวทางการกระจายอำนาจ
เสริมสร้างและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคประชาสังคม ชุมชน และภาคเอกชน ยุทธศาสตร์ 5 ระบบการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ 6

11 การส่งเสริมให้ อปท. มีอิสระและเป็นหน่วยงานหลักในการจัดบริการสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ 1 ส่งเสริมให้ อปท. มีอิสระในการจัดทำบริการสาธารณะ อิสระกำหนดนโยบาย ส่งเสริมให้ อปท. มีอำนาจและหน้าที่โดยเป็นหน่วยงานหลักในการจัดทำ บริการสาธารณะ - ครบถ้วนสมบูรณ์ทั้งระบบ ภารกิจที่เป็นประโยชน์และเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ในหลักการต้องถ่ายโอนให้ อปท. ในพื้นที่ดูแล ถ่ายโอนภารกิจตามความจำเป็นในแต่ละพื้นที่ ศักยภาพ ความพร้อม ลักษณะทางกายภาพ ข้อเท็จจริงและความเป็นอยู่ ส่งเสริมให้ อปท. มีส่วนร่วมในการจัดการวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงกับการพัฒนา เศรษฐกิจ การท่องเที่ยว การศึกษา และสิ่งแวดล้อม 1 2 3 4 5

12 การส่งเสริมให้ อปท. มีอิสระและเป็นหน่วยงานหลักในการจัดบริการสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ 1 อปท. แก้ไขปัญหาให้แก่ประชาชนในพื้นที่ โดยส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และ สถาบันการศึกษา สนับสนุนทางด้านเทคนิควิชาการ ปรับบทบาทของ อปท. ให้สอดคล้องและสนับสนุนแนวทางการพัฒนา ประเทศและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต พัฒนาระบบฐานข้อมูลระดับพื้นที่ ส่งเสริมให้มีรูปแบบการจัดบริการสาธารณะที่หลากหลาย อาทิ การร่วมทุน ระหว่างเอกชน วิสาหกิจชุมชน องค์กรมหาชนท้องถิ่น สหการ ปรับปรุงและผ่อนคลายกฎ ระเบียบต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคในการดำเนินงานใน ด้านต่างๆ เพื่อเอื้อให้ อปท. มีความเป็นอิสระมากขึ้นให้สามารถมีนวัตกรรม ในการจัดบริการสาธารณะที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น 6 7 8 9 10

13 การส่งเสริมให้ อปท. มีอิสระและเป็นหน่วยงานหลักในการจัดบริการสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ 1 กิจการอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น ให้คณะกรรมการ ประกาศกำหนด อาทิ การพยุงราคาผลผลิตทางการเกษตร การทำตลาด กลางเพื่อรับซื้อผลผลิตทางการเกษตร และการส่งเสริมการลงทุนในเขตพื้นที่ แก้ไข กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้องให้ อปท. สามารถดำเนินการว่าจ้าง หมู่บ้าน /ชุมชนเป็นผู้รับไปดำเนินการจัดทำบริการสาธารณะขนาดเล็กได้ อาทิ การเก็บขยะ การดูแลบำรุงรักษาสาธารณประโยชน์ เป็นต้น ภารกิจที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไข กฎหมายให้แล้วเสร็จภายใน ๒ ปี กำหนดให้การถ่ายโอนภารกิจของส่วนราชการเป็นตัวชี้วัด (KPI) 11 12 13 14

14 การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางการเงินการคลังของ อปท.
ยุทธศาสตร์ 2 การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางการเงินการคลังของ อปท. ส่งเสริมความเป็นอิสระทางการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1 การปรับโครงสร้างรายได้ให้สอดคล้องกับภารกิจที่รับผิดชอบของ อปท. การปรับปรุงรายได้ที่ อปท. จัดเก็บเอง การปรับปรุงรายได้ที่รัฐบาลจัดเก็บให้ อปท. การปรับปรุงการจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. การกำหนดสัดส่วนรายได้ของ อปท. ต่อรายได้สุทธิของรัฐบาล การทบทวนการจัดสรรรายได้ให้แก่ อปท.

15 การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางการเงินการคลังของ อปท.
ยุทธศาสตร์ 2 การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางการเงินการคลังของ อปท. พัฒนาประสิทธิภาพการใช้จ่ายเงินของ อปท. ให้สอดคล้องกับภารกิจ 2 การพัฒนาระบบการจัดหารายได้ อปท. การพัฒนายุทธศาสตร์การบริหารงานของ อปท. การพัฒนาวิธีการงบประมาณของ อปท. การพัฒนาระบบบัญชีของ อปท. การพัฒนาศักยภาพการบริหารการเงินการคลัง การเสริมสร้างวินัยทางการเงิน การคลังของ อปท. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. การพัฒนาระบบการติดตามและตรวจสอบการบริหารงบประมาณของ อปท. การแก้ไขปัญหาข้อพิพาทและการแสวงหาความร่วมมือใน อปท.

16 การพัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคลของ อปท. เพื่อรองรับการกระจายอำนาจ
ยุทธศาสตร์ 3 การถ่ายโอนบุคลากรจากภาคราชการตามภารกิจที่ถ่ายโอน การถ่ายโอนบุคลากรจากส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคให้แก่ อปท. ต้องสอดคล้องกับภารกิจถ่ายโอน การถ่ายโอนบุคลากร ยึดหลักการ “งานไป ตำแหน่งไป” หาก อปท. เห็นถึงความจำเป็นดังกล่าวอาจร้องขอ และทำความตกลงกับส่วนราชการที่ถ่ายโอนภารกิจ เพื่อให้ข้าราชการในสังกัดอยู่ช่วยราชการต่อไปอีก ๒ ปี 1 2 3 ให้มีการวิเคราะห์กรอบอัตรากำลังคน หรือแผนอัตรากำลังคนให้สอดคล้องกับภาระหน้าที่ที่เพิ่มขึ้นของ อปท. 4

17 การพัฒนาการบริหารทรัพยากรบุคคลของ อปท. เพื่อรองรับการกระจายอำนาจ
ยุทธศาสตร์ 3 สร้างความมั่นใจด้านความมั่นคง หลักประกันความก้าวหน้าในการทำงาน ลดความเหลื่อมล้ำระหว่างข้าราชการส่วนกลาง กับข้าราชการส่วนท้องถิ่น รวมถึงสถานภาพและสิทธิประโยชน์ต่อเนื่องของสมาชิก กบข. การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ อปท. การกำหนดมาตรฐานกลางในการบริหารงานบุคคล ของ อปท. ควรให้บุคลากรของ อปท. เข้าไปมีส่วนร่วม โดยให้คำนึงถึงมาตรฐานการบริหารงานบุคคลที่มีความเป็นวิชาชีพมากขึ้น 5 1 ส่งเสริมและเปิดโอกาสให้มีการโอน ย้าย สับเปลี่ยน ยืมตัวบุคลากรระหว่าง อปท. ด้วยกันเอง หรือระหว่าง อปท. กับส่วนราชการ 2

18 การถ่ายโอนบุคลากรจากภาครัฐให้แก่ อปท. และการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ อปท
การถ่ายโอนบุคลากรจากภาครัฐให้แก่ อปท. และการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ อปท. เพื่อรองรับการกระจายอำนาจ ยุทธศาสตร์ 3 การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ อปท. ต่อ 3 ส่งเสริมให้การบริหารทรัพยากรบุคคลส่วนท้องถิ่นยึดหลักการตามระบบคุณธรรม มีกลไกดูแลความเป็นธรรม เสริมสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อเพิ่มสมรรถนะการทำงานของบุคลากรท้องถิ่น ทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายประจำ รวมถึงพนักงานและลูกจ้างให้มีความพร้อมในการรองรับการทำงานที่เพิ่มขึ้น 4 เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม เกียรติภูมิ ความโปร่งใสและธรรมาภิบาลให้ผู้บริหารและบุคลากรท้องถิ่น 5 สร้างความสัมพันธ์ในระบบบริหารงานบุคลากรท้องถิ่นระหว่างฝ่ายการเมืองและฝ่ายประจำ 6

19 การส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ อปท. และระหว่าง อปท
การส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ อปท. และระหว่าง อปท. ด้วยกันเอง ยุทธศาสตร์ 4 ส่งเสริม และสนับสนุนความสัมพันธ์ระหว่าง อปท. ด้วยกันเอง ส่งเสริม และสนับสนุนความสัมพันธ์ระหว่าง อปท. กับส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่งเสริม สนับสนุนความสัมพันธ์ระหว่าง อปท. กับรัฐวิสาหกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างราชการส่วนกลาง และราชการส่วนภูมิภาค การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง และประสานการจัดทำแผนพัฒนา จังหวัด 1 2 3 4 5

20 เสริมสร้างและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคประชาสังคม ชุมชน และภาคเอกชน
ยุทธศาสตร์ 5 เปิดช่องทางให้ประชาชน ชุมชน หมู่บ้าน ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน เข้าไปมีส่วนร่วมในการดำเนินการต่างๆ ของ อปท. สนับสนุนกระบวนการมีส่วนร่วมและพัฒนาศักยภาพของท้องถิ่นและชุมชน โดยผลักดันให้เกิดความเป็นหุ้นส่วนร่วมกัน เพื่อการพัฒนา และแก้ไขปัญหา พัฒนาศักยภาพชุมชนให้เข้มแข็งพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ โดย อปท. รณรงค์ กระตุ้น สร้างจิตสำนึกในการดำเนินการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รณรงค์สร้างจิตสำนึกระหว่าง อปท. และชุมชนต่างๆ ทั้งที่เป็นองค์กรชุมชน หรือองค์กรประชาชน ต่าง ๆ ให้ตระหนักเรื่องการมีส่วนร่วมให้มากขึ้น 1 2 3 4 5

21 เสริมสร้างและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคประชาสังคม ชุมชน และภาคเอกชน
ยุทธศาสตร์ 5 กำหนดบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจน ระหว่างราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค อปท. ประชาชน ชุมชน หมู่บ้าน ภาคประชาสังคมและภาคเอกชนในพื้นที่ 5 5 ส่งเสริม อปท. ให้มีบทบาทในการแก้ไขปัญหาให้แก่ประชาชนในพื้นที่ โดยราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค และสถาบันการศึกษา ให้การสนับสนุนทางด้านเทคนิควิชาการ และองค์ความรู้ อปท. สนับสนุนกระบวนการวางแผนชุมชนระยะยาว เพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชนได้อย่างเท่าทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป พัฒนาและส่งเสริมให้สภาท้องถิ่น ทำหน้าที่เชื่อมโยงความต้องการและนำปัญหาของประชาชนในหมู่บ้านและชุมชนเสนอต่อฝ่ายบริหารท้องถิ่น 6 7 8

22 ระบบการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์ 6 สร้างระบบการตรวจสอบการใช้งบประมาณที่มุ่งให้เกิดความคุ้มค่า สมประโยชน์ และโปร่งใส มีกลไกการตรวจสอบจากภาคประชาชน โดยใช้ระบบสารสนเทศ อปท. ต้องรายงานผลการดำเนินงานต่อ กกถ. เพื่อเป็นฐานข้อมูล ในการกำหนดสัดส่วนรายได้ มีกลไกการติดตามและประเมินผล โดยประสานส่วนราชการ สถาบันการศึกษา อปท. และองค์กรเครือข่ายต่างๆ ในภูมิภาค 1 2 3 4 5

23 รูปแบบการกระจายอำนาจ
ภารกิจที่สามารถถ่ายโอนได้ทันที ภารกิจที่ถ่ายโอนโดยมีเงื่อนไข ภารกิจในลักษณะรัฐทำร่วมกับ อปท. (Share Function) ภารกิจที่ อปท. ริเริ่มด้วยตนเอง 1 2 3 4

24 ระยะเวลาการกระจายอำนาจ
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ปีงบประมาณ พ.ศ ระยะแรก ภารกิจที่ต้องแก้ไขกฎหมาย (ปีงบประมาณ พ.ศ ) ส่วนราชการเร่งแก้ไขกฎหมายให้ อปท. มีอำนาจอนุมัติ/อนุญาต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555ภารกิจที่สามารถถ่ายโอนให้แก่อปท. ได้ทันทีโดยไม่ต้องแก้ไขกฎหมาย ระยะที่สอง กรณีแก้ไขกฎหมายแล้ว (ปีงบประมาณ พ.ศ ) เตรียมความพร้อมให้แก่ อปท. เพื่อรองรับการถ่ายโอน ภารกิจที่ต้องประเมินความพร้อม ปีงบประมาณ พ.ศ อปท. ต้องผ่านการประเมิน ความพร้อม ได้แก่ การศึกษา สาธารณะสุข

25 การพิจารณาการถ่ายโอนภารกิจ
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม Company Logo

26 กลไกการบริหารแผนการกระจายอำนาจฯ ฉบับที่ 3. (พ. ศ
กลไกการบริหารแผนการกระจายอำนาจฯ ฉบับที่ 3 (พ.ศ ) ไปสู่การปฏิบัติ การปฏิบัติ กลไกระดับ จังหวัด ก.พ.ร. ก.พ. สงป. กลไก สนับสนุน -คณะอนุกรรมการอำนวยการการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. ระดับจังหวัด กลไกกำกับดูแล และ กำกับการดำเนินงาน กลไกของ ส่วนราชการ ที่ถ่ายโอน สตง. - สถ. - สกถ. - คณะอนุกรรมการฯ คณะต่างๆ


ดาวน์โหลด ppt สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google