Chapter 3 Set a Server by Linux.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดใน ประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
Advertisements

การใช้งาน Linux เบื้องต้น
Introduction to C Introduction to C.
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
HTML Language ภาษา HTML คืออะไร ? HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้ในการพัฒนา web page เพื่อให้โปรแกรม web brower ต่างๆ (Internet Explorer,
Script Programming& Internet Programming
การเขียนคำสั่งเชื่อมต่อฐานข้อมูล
การใช้งาน vi การเรียกโปรแกรม การทำงานของโปรแกรม vi ชื่อไฟล์
6. โครงสร้างข้อมูลแบบแฟ้ม
ความหมายของซอฟท์แวร์ (Software, Program)
องค์ประกอบของโปรแกรม
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซี.
การกำหนดลักษณะของตัวอักษร
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
การสร้าง Shortcut คลิกขวาที่ Fileหรือ Folder หรือสิ่งที่จะสร้างเป็น Shortcut เลือกคำสั่ง.
ปฏิบัติการที่ 3 : การสร้างโฮมเพจอย่างง่าย
ASP [# 9] การติดต่อข้อมูล Text Files
การจัดการเอกสารด้วยไลบรารี
HTTP Client-Server.
ระบบอัตโนมัติและการพิมพ์
Atlas.ti demo – ให้code ได้ไม่เกิน 50
โครงสร้าง HTML โครงสร้างพื้นฐาน HTML คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <BR>
Unix: basic command.
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database
SCC : Suthida Chaichomchuen
บทที่ 3 การจัดการกับข้อความ
FUNCTION File Week 7 by Mr. Jiraphan Srisomphan. 2 แสดงชื่อไฟล์ในไดเรกทรอรี่ด้วย Dir() >Handle-> เก็บค่าเลขรหัสของได เรกทรอรี่ที่สร้างขึ้น >Path-> เก็บรายชื่อพาธของไดเรก.
โครงสร้างการทำงานของ OS
การจัดการแฟ้มข้อมูล.
คู่มือสร้างบล็อก blog.spu.ac.th
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
Alfresco รัฐชัย ชาวอุทัย
Page: 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคำสั่ง DOS DOS Command มหาวิทยาลัยเนชั่น จังหวัดลำปาง ผศ. บุรินทร์
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
ทำงานกับ File และStream
ระบบจัดการห้องประชุมและสมาชิก
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
พื้นฐานของ Microsoft Office Excel โดย
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
การ Generate ตารางข้อมูลให้เป็นแผนที่โดยใช้ ArcView
ระบบปฏิบัติการ DOS Disk Operating System.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Solaris 10.
พื้นฐานการใช้งาน Microsoft Word 2007
บทที่ 3 Windows OUTLINE คำสั่งเกี่ยวกับไฟล์และโฟลเดอร์
โปรแกรม Microsoft Access
การใช้งานระบบ TU Moodle
13 October 2007
PHP: [8] การสร้างฟังก์ชั่นขึ้นใช้เอง (User-defined functions)
การเพิ่ม ลบ จำกัดสิทธิ์ User
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ Microsoft Visual C#
“Disk Operating System”
ระบบ Upload File การเข้าใช้งาน - เปิดโปรแกรม IE
Microsoft Outlook 2010 การจัดการโฟลเดอร์และข่าวสาร
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
Uniform Resource Location ( URL)
การจัดการแฟ้มข้อมูล.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
นาย ปวเรศ ชาวเวียง รหัสนิสิต
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( )
Permission&User command/ LAMP. User command adduser [username] [option] passwd [username] deluser [option] [username]
และการทำงานกับตัวอักษร
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
Patient Monitoring ผู้จัดโดย นายกันต์ ศิริงามเพ็ญ KMITL
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
File & Directory Management การจัดการไฟล์และไดเรคทอรี
บทที่ 7 การสร้างและการใช้งาน ฟังก์ชัน อาจารย์ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
FILE AND DIRECTORIES พื้นฐานลินุกส์ ผู้สอน นายวุฒิชัย คำมีสว่าง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 3 Set a Server by Linux

การสร้างไดเร็กทอรี่ : mkdir command เราสามารถสร้าง directory เพิ่มขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการเก็บงานสำหรับการทำงานของเรา ในการสร้าง directory จะต้องคำนึงถึงชื่อและตัวอักษรเล็ก-ใหญ่ ห้ามใช้ชื่อสงวนของระบบ รูปแบบการใช้คำสั่ง mkdir [options] directories

mkdir command mkdir member เป็นการสร้างไดเร็กทอรี่ที่ชื่อ member mkdir exchange เป็นการสร้างไดเร็กทอรี่ที่ชื่อ exchange แต่ถ้าชื่อที่ใช้สร้าง directory ไปซ้ำกับ directory เก่าที่มีอยู่แล้ว จะแสดงข้อความเตือน mkdir : cannot create directory ‘exchange’: File exists

mkdir command เราสามารถสร้าง sub-directory ได้โดยใช้คำสั่ง mkdir /home/thira/exchange/currency ในที่นี้เป็นการสร้าง ไดเร็กทอรี่ย่อย (sub-directory) currency ภายใต้ directory exchange. หากเราสร้างไดเร็กทอรี่ย่อยบนไดเร็กทอรี่ที่ไม่มีอยู่จริง เช่น สร้าง sub-directory map บน directory nature แต่ directory nature ไม่มีอยู่บนระบบ ระบบจะแสดงข้อความแจ้งเตือนดังนี้

mkdir command #mkdir /home/thira/nature/map #mkdir : cannot create directory ‘/home/thira/nature/map’ : No such file or directory

mkdir command นอกจากนี้เรายังสามารถสร้าง directory หลาย ๆ ตัวเพียงคำสั่งเดียวได้ เช่น จะสร้าง directory ที่ชื่อ myname และ yourname ให้พิมพ์คำสั่งดังนี้ mkdir myname yourname option ที่น่าสนใจคือ - option p (-p) เอาไว้สร้าง sub-sub-directory ที่อยู่ภายใต้ sub-directory เพียงครั้งเดียว เช่น

mkdir command เราต้องการสร้าง directory app ให้อยู่ภายใต้ sub-directory software โดยที่ในระบบยังไม่มี directory software มาก่อน แต่ตอนนี้เราทำงานอยู่ที่ directory thira คำสั่งที่ใช้มีดังนี้ #mkdir –p /thira/software/app

การลบไดเร็กทอรี่ : rmdir command เราสามารถจะสั่งลบ directory ได้โดยที่ไม่ต้องการออกไปจากระบบได้ โดยใช้คำสั่ง rmdir (remove directory) สามารถลบได้ทั้งไดเร็กทอรี่เปล่า หรือไดเร็กทอรี่ที่มีไฟล์ข้อมูลอยู่ก็ได้ รูปแบบคำสั่ง rmdir [options] directories เช่น หากเราต้องการลบ directory nature เราก็จะใช้คำสั่ง # rmdir nature

rmdir command ภายใต้ directory nature ไม่มีไฟล์เก็บอยู่ ก็จะสามารถลบได้เลยทันที แต่หากเราต้องการลบ directory ที่มีข้อมูลอยู่ด้วย เราจะต้องลบไฟล์ที่มีอยู่ใน directory ทั้งหมดก่อน แล้วจึงค่อยลบ directory

การจัดการไฟล์ (File Management) ในการจัดการไฟล์ มีหลาย command ที่น่าสนใจ แต่จะเน้นในเรื่องของ การคัดลอกไฟล์ (copy file) การลบไฟล์ (remove file) การย้าย-เปลี่ยนชื่อไฟล์ (move/rename file)

การคัดลอกไฟล์ คำสั่งที่ใช้ในการ copy file คือ คำสั่ง cp (cp command) เป็นคำสั่งที่ใช้ในการก๊อปปี้ไฟล์ข้อมูล ซึ่งเราสามารถจะ copy ทีละไฟล์ หลาย ๆ ไฟล์ในคราวเดียวกัน หรือแม้กระทั่งการก๊อปปี้ไฟล์ไปไว้ยังไดเร็กทอรี่ที่เราต้องการ รูปแบบการใช้คำสั่ง cp [options] filename1 filename2 cp [options] filename1 directory

การคัดลอกไฟล์ option ที่น่าสนใจคือ Option i (-i) เป็นการสั่งให้แสดงข้อความถาม กรณีที่ต้องมีการเขียนทับไฟล์เดิม โดยตอบ y หากต้องการเขียนทับ Option p (-p) ใช้ในการแก้ไขไฟล์และสิทธิ์การใช้งาน ข้อมูลเหมือนกับไฟล์เดิมที่ copy มา Option r (-r) เป็นการสั่ง copy ทั้งไดเร็กทอรี่ (รวมทั้งไฟล์และไดเร็กทอรี่ย่อยที่อยู่ภายในด้วย)

การคัดลอกไฟล์ เช่น cp thira.txt meaw.txt - เป็นการ copy file thira.txt ไปยังไฟล์ meaw.txt ที่อยู่ใน directory เดียวกัน แต่เวลาในการแก้ไขไฟล์จะเป็นเวลาปัจจุบัน ไม่ใช่เวลาของไฟล์เดิม cp thira.txt /home/thira/meaw.txt - เป็นการ copy file thira.txt ไปยังไฟล์ meaw.txt ใน directory home, sub-directory thira

การคัดลอกไฟล์ cp –p thira.txt /home/thira/meaw.txt เป็นการ copy file thira.txt ไปยังไฟล์ meaw.txt ที่อยู่ใน directory home, sub-directory thira แต่เวลาในการแก้ไขไฟล์ จะเป็นเวลาของไฟล์เดิม ไม่ใช่เวลาปัจจุบัน นอกจากนี้ยังถามย้ำว่า จะให้เขียนทับไฟล์เดิมไหม cp –r /var/named/* /home/thira/computer - เป็นการ copy file ทั้งหมดใน directory name รวมทั้ง directory ย่อยภายใน ไปไว้ยังไดเร็กทอรี่ computer ซึ่งอยู่ภายใต้ directory /home/thira

Permission จะเห็นได้ว่า โหมดจะถูกกำหนดโดยตัวอักษร 10 ตัว จะเห็นได้ว่า โหมดจะถูกกำหนดโดยตัวอักษร 10 ตัว d – r w – r w – r - 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ตัวที่ 1 บอกถึงความเป็นไดเร็กทอรี่หรือไฟล์ ตัวที่ 2-10 จะแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ตัว ซึ่งจะใช้ในการบอกถึง Permission หรือสิทธิในการใช้งาน Read (อ่านได้), write (เขียนหรือแก้ไขได้), execute (เรียกให้ทำงานได้) โดยจะใช้ตัวอักษร r,w,x แทน ถ้าไม่ได้รับสิทธิอันไหน จะใช้เครื่องหมาย “ – “ ในช่องนั้น

Permission ตัวที่ 2,3,4 บอกถึง permission ของ user (เจ้าของ) ตัวที่ 5,6,7 บอกถึง permission ของ group (กลุ่ม) ตัวที่ 8,9,10 บอกถึง permission ของ other (บุคคลนอกเหนือจากที่ได้กำหนดไว้) เราจะใช้ตัวอักษร u, g และ o ในการกำหนดสิทธิ์ให้กับผู้ใช้