โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ความหมายของโครงงาน.
ICT & LEARN.
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
กลุ่มปลาดาว.
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การจัดกิจกรรม สำหรับพ่อแม่เด็กอายุ 0 – 5 ปี
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
ทักษะการวิเคราะห์.
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
ความหมายของโครงงาน โครงงาน หมายถึง กิจกรรมการศึกษาวิชาการงานที่ส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียนได้เลือกขึ้นมาศึกษา ค้นคว้า ริเริ่มสร้างสรรค์ ผลงานตามที่ตนเองมีความถนัด.
ประดิษฐ์ของประดับตกแต่งบ้าน เพื่อลดภาวะโลกร้อน
ทีมสำรวจอวกาศ ทีมสำรวจอวกาศ: ภารกิจ! แผนการจัดการเรียนรู้ 1: ภารกิจ 1.
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
แนะนำวิทยากร.
การวิจัยการศึกษา.
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ “เกม” (Game)
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
1. ตัวแปรต้น 2. ตัวแปรตาม 3. ตัวแปรควบคุม การกำหนดและควบคุมตัวแปร.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
ขั้นตอนที่ 5 การนำเสนอแฟ้มผลงาน (Portfolio)
การทำงานเชิงกระบวนการในชุมชน
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
1 UIE research Activities for research training
การเขียนรายงานการวิจัย
การปลูกพืชผักสวนครัว
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
การเขียนข้อเสนอโครงการ
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
หลักการแก้ปัญหา
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
3 แบบทดสอบก่อนเรียน 1. โครงงานวิทยาศาสตร์มีกี่ประเภท 1. 3 ประเภท 2. 4 ประเภท 3. 5 ประเภท 4. 6 ประเภท 2. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของโครงงาน 1. โครงงานประเภททดลอง.
สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3
การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแนว 7 Es
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
ตวงรัตน์ นิ่มแสง L.T. ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ขั้นตอนการดำเนินการฝึกภาคสนาม
การเขียนรายงานผลการวิจัย
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
กระบวนการ การออกแบบการเรียนการสอน แนวคิดสำคัญ เริ่มจากการคิดทุกอย่างให้จบสิ้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ ผลผลิตที่ต้องการ เป็นหลักฐาน พยานแห่งการเรียนรู้
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย การอบรมเชิงปฏิบัติการ(เพิ่มเติม)

พบเพื่อนใหม่ แนะนำตนเอง ระบุความคาดหวังของตนเอง ในการเข้ารับการอบรมใน 2 วันนี้ (post it)

สร้างแม่เหล็กติดตู้เย็น โดยใช้แม่เหล็กและดินน้ำมัน กิจกรรมจุดประกาย We mad Magnet! สร้างแม่เหล็กติดตู้เย็น โดยใช้แม่เหล็กและดินน้ำมัน

สนุกกับแม่เหล็ก

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เราสามารถพบแม่เหล็กได้จากที่ไหน และแม่เหล็กเหล่านั้นใช้สำหรับทำอะไร

กิจกรรม: แม่เหล็ก สำรวจอย่างอิสระ จากวัสดุอุปกรณ์ทั้งหมดที่แจกให้ในแต่ละกลุ่ม เราสามารถนำมาเล่นหรือใช้ทำอะไรได้บ้าง (สังเกต อภิปราย บันทึก)

“แม่เหล็กดูดอะไรได้บ้าง” กิจกรรม: แม่เหล็ก คำถาม จากวัสดุอุปกรณ์ทั้งหมดที่แจกให้ในแต่ละกลุ่ม “แม่เหล็กดูดอะไรได้บ้าง”

กิจกรรม: แม่เหล็ก รวบรวมความคิดและสร้างข้อสันนิษฐาน จากคำถามที่ตั้งไว้ รวบรวมความคิด จากประสบการณ์เดิมที่มี ตั้งสันนิษฐาน ออกแบบการทดลองเพื่อทดสอบสันนิษฐานที่ตั้งไว้

กิจกรรม: แม่เหล็ก ทำการทดลอง/สังเกต บรรยาย ดำเนินการทดลองตามที่ออกแบบไว้ ขณะทำการทดลอง ต้องสังเกต และบรรยายสิ่งที่เกิดขึ้น

กิจกรรม: แม่เหล็ก บันทึกผลการทดลอง จดบันทึกผลทีได้จากการทดลอง อาจจะเขียนบรรยาย วาดภาพ หรือ ถ่ายรูป

กิจกรรม: แม่เหล็ก อภิปรายผลการทดลอง ร่วมกันสรุปผลลัพธ์และประสบการณ์ใหม่ที่ได้รับร่วมกัน ข้อสันนิษฐานของเราถูกต้องหรือไม่

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ นักวิทยาศาสตร์น้อย นักวิทยาศาสตร์

การทดลองตามใบกิจกรรม แต่ละกลุ่ม หาคำตอบจากคำถามที่ให้ โดยใช้วัฎจักรการวิจัย (แสดงแต่ละขั้นตอนให้ชัดเจน)

การทดลองตามใบกิจกรรม คำถามสำหรับแต่ละกลุ่ม แม่เหล็กสามารถดูดติดสิ่งของโดยไม่สัมผัสได้หรือไม่ แม่เหล็กสามารถดูดติดสิ่งของโดยมีวัสดุอื่นกั้นได้หรือไม่ แม่เหล็กและแม่เหล็กดูดติดกันอย่างเดียวหรือไม่ แม่เหล็กที่มีรูปร่างต่างกันสามารถดูดติดสิ่งของได้เหมือนกันหรือไม่

นำเสนอข้อค้นพบ

สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้วันที่ 1

สนุกกับกิจกรรมแม่เหล็ก วันที่สอง

จุดประกาย ผีเสื้อบินได้

ทดลองอิสระกับแม่เหล็ก แต่ละกลุ่มตั้งคำถามอย่างอิสระ ในเรื่องที่คุณอยากรู้เกี่ยวกับแม่เหล็ก หาคำตอบของคำถาม โดยใช้วัฏจักรการวิจัย นำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้

การทดลองผ่อนคลาย สิ่งประดิษฐ์จากแม่เหล็ก แต่ละกลุ่มช่วยกันสร้างสิ่งประดิษฐ์แม่เหล็กจากวัสดุอุปกรณ์ที่มี

ประเมินการอบรม แจ่มแจ้ง โอเค ไม่ชัดเจน

ขอบคุณค่ะ/ครับ