สาระการเรียนรู้คริสต์ศาสนา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา โดย กลุ่มงานวัดและประเมินผล การศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา.
Advertisements

PCTG Model อริยมงคล 55.
ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
นายสำเริง นวลปาน ตำแหน่งประธานกรรมการ นายสุเทพ เทพบุรี ตำแหน่งกรรมการ
กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
งานวิจัย เรื่อง ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มี รูปวรรณยุกต์กำกับ
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
หน่วยที่ 4.
การชุมนุมเพื่องานการเผยแผ่ธรรม
การชุมนุมเพื่องานการ เผยแผ่ธรรม ในอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ วันที่ กันยายน 2550 ศูนย์ฝึกอบรมงานอภิบาล บ้านผู้หว่าน.
การพัฒนาครูพลศึกษาในประเทศไทย
แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม
กระบวนทัศน์ทิศทางงานอภิบาล วิธีดำเนินการสัมมนาภาค
การศึกษารายกรณี.
 การสอนแบบอภิปราย.
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ การจัดการเรียนการสอน
วิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางรัชฎา ช่างเหลา ตำแหน่งพนักงานราชการ
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้น
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
เปรียบเทียบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๔ กับหลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วัตถุประสงค์ของโครงการ
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ถวายเป็นพุทธบูชา (ฉลองพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ธรรม)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประสบการณ์การใช้ eDLTV
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
นโยบายการขับเคลื่อน ระบบการวัดและประเมินสมรรถนะผู้เรียน
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์
ผลแห่งความสำเร็จ 3 ห หลักเกณฑ์ หลักการ หลักฐาน.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
TO DAY AGENDA วันนี้จะสอน อะไร 1. แผนการสอน เรื่อง ……………………………………… …………………………………… ชั่วโมง หน่วย ……………………. ………………… ชั้น …………. ภาคเรียน …… ความสำคัญ วัสดุ
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การสร้างสื่อ e-Learning
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
หลักสูตรประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จำรัส เพชรทับ
การจัดทำคำอธิบายรายวิชา
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ จิตวิทยาการเรียนการสอน และการแนะแนว
ชิ้นงานที่ 2 สุภาลัย หมายถมกลาง คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการ ออกแบบสถานการณ์หรือ ปัญหาซับซ้อนต่างๆ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การใช้ข้อสอบกลางในการ สอบปลายปี
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาระการเรียนรู้คริสต์ศาสนา หรือ รายวิชาคริสต์ศาสนา

หลักการและเหตุผล ในการจัดทำ

จุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาคาทอลิก กำหนดให้สถานศึกษา(โรงเรียน)เป็นสนามแพร่ธรรม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๔๔ และ พ.ศ.๒๕๕๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ได้เปิดกว้าง ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ประวัติ ความสำคัญของศาสนา ศาสดา หลักธรรม ฯลฯ ของศาสนาอื่นๆ ได้

จึงเป็นโอกาสดีที่โรงเรียนคาทอลิก จะได้เผยแผ่จิตตารมณ์ กว่า 30 ปีแล้วที่โรงเรียนคาทอลิกในสังฆมณฑล ราชบุรีไม่ได้จัดการเรียนการสอน “คริสต์ศาสนา” อย่างเป็นรูปธรรม จึงเป็นโอกาสดีที่โรงเรียนคาทอลิก จะได้เผยแผ่จิตตารมณ์ ของพระคริสต์

ฯลฯ เพื่อการจัดการเรียนการสอน หนังสือ ชุดการสอน หนังสือเรียน คู่มือครู ฯลฯ เพื่อการจัดการเรียนการสอน

หลักสูตร “คริสต์ศาสนา” จึงถูกจัดทำขึ้น เพื่อช่วยให้สถานศึกษา/โรงเรียนคาทอลิก ได้เป็นสนามแพร่ธรรมอย่างแท้จริง (ตามจุดมุ่งหมายของการศึกษาคาทอลิก)

เพื่อให้โรงเรียนคาทอลิกได้มีหนังสือเรียน คู่มือครู วัตถุประสงค์ เพื่อให้โรงเรียนคาทอลิกได้มีหนังสือเรียน คู่มือครู และสื่ออุปกรณ์ ใช้ในการจัดการเรียนรู้ “คริสต์ศาสนา” ครบทุกชั้นปี : ป.1 – ม.6 ให้การจัดการเรียนการสอน “คริสตศาสนา” ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบ ครบวงจร และแบ่งเบาภาระครูผู้สอน

ให้นักเรียนทุกคนที่มาเรียนในโรงเรียนคาทอลิก ได้มีโอกาสเรียนรู้ ได้รู้จักและสัมผัสถึงความรัก และความพระฤทธานุภาพของพระเจ้า... เพื่อเมื่อเวลาที่เขาพึ่งใครไม่ได้ ...จะได้ระลึกถึงและหันกลับมาพึ่งพระเจ้า... เราเตรียมเมล็ดพันธุ์ให้ครูหว่าน จะเกิดผลเท่าไรขึ้นอยู่กับพระเจ้า

แบ่งออกเป็น 12 ชั้นปี แต่ละชั้นปีประกอบด้วย โครงสร้างหลักสูตร แบ่งออกเป็น 12 ชั้นปี แต่ละชั้นปีประกอบด้วย 1.หนังสือสาระการเรียนรู้ 2.คู่มือการจัดการเรียนรู้ 3.สื่อ-อุปกรณ์การสอน :CD เพลงและVCD/DVD

CD เพลงประกอบบทเรียน

หนังสือสาระการเรียนรู้คริสต์ศาสนา 12 เล่ม ช่วงชั้นที่ 1 ระดับประถม 1 - 3

หนังสือสาระการเรียนรู้คริสต์ศาสนา 12 เล่ม ช่วงชั้นที่ 2 ระดับประถม 4 - 6

หนังสือสาระการเรียนรู้คริสต์ศาสนา 12 เล่ม ช่วงชั้นที่ 3 ระดับมัธยม 1 - 3

หนังสือสาระการเรียนรู้คริสต์ศาสนา 12 เล่ม ช่วงชั้นที่ 4 ระดับมัธยม 4 - 6

คู่มือการจัดการเรียนรู้คริสต์ศาสนา 12 เล่ม

เนื้อหาสาระในแต่ละชั้นปีมีโครงสร้างหรือลำดับเหมือนกัน ดังนี้ โครงสร้างรายวิชา เนื้อหาสาระในแต่ละชั้นปีมีโครงสร้างหรือลำดับเหมือนกัน ดังนี้ หน่วยที่ 1 ประวัติศาสนา หน่วยที่ 2 ประวัติศาสดา – อัครสาวก หน่วยที่ 3 หลักธรรมคำสอน หน่วยที่ 4 หลักปฏิบัติ หน่วยที่ 5 พิธีกรรม หน่วยที่ 6 การภาวนา หน่วยที่ 7 บุคคลตัวอย่าง

เนื้อหาสาระในแต่ละหน่วยเพิ่มขึ้นหรือผันแปรไป ตามลำดับ มัธยมปลายและอาชีวะมีหน่วยเสริมเพิ่มเติมเกี่ยวกับ เรื่องลำดับความเป็นมาของพระศาสนจักรอดีต - ปัจจุบัน และในประเทศไทย กำหนดเวลาเรียน การวัดประเมินผล แจ้งให้ทราบในแผนการจัดการเรียนรู้ แต่ละหน่วยแล้ว

สิ่งที่จะจัดทำเพิ่มเติม - คำอธิบายรายวิชา - โครงสร้างรายวิชา ตามหลักการจัดทำรายวิชาเพิ่มเติม ของหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑