ศิลปะการพูด (Rhetorical Speech)
บทที่ 1 บทนำ ความหมายของการพูด ความสำคัญของการพูด จุดมุ่งหมายของการพูด
องค์ประกอบการพูด ประเภทของการพูด วิวัฒนาการการพูด
ความสำคัญของการพูด ความสำคัญของการพูด
ครู
นักการเมือง
ศาสนา
ค้าขาย
อาชีพอื่น ๆ
จุดมุ่งหมายของการพูด ส่งและรับข้อมูล ให้ความรู้ โน้มน้าวผู้รับสารให้คล้อยตาม ความรื่นเริงบันเทิงใจ ความเข้าใจอันดีต่อกัน
องค์ประกอบการพูด ผู้พูด (Sender or Speaker) ผู้ฟัง (Receiver or Listener) เนื้อหาสาระ / เรื่องที่จะพูด (Message) เครื่องมือสื่อสาร (คำพูด / การใช้ถ้อยคำ) (Channel)
ประเภทของการพูด จูงใจ / โน้มน้าวใจ จรรโลงใจ แบ่งตามวัตถุประสงค์ ให้ความรู้ จูงใจ / โน้มน้าวใจ จรรโลงใจ
แบ่งตามลักษณะของวิธีพูด อ่านจากต้นฉบับ ท่องจำ เตรียมตัวล่วงหน้า ไม่เตรียมตัวล่วงหน้า
วิวัฒนาการการพูด กรีก Rhetoric นักพูดที่ยิ่งใหญ่
วิวัฒนาการการพูด เดมอสเทนิส โคแรกซ์ ไอโซเครติส
วิวัฒนาการการพูด เปลโต อริสโตเติล บันทึกการพูด พ.ศ.2456
วิวัฒนาการการพูด พระราชดำรัส/พระบรมราโชวาท พ.ศ.2428 (ส่วนใหญ่ ร. 5)
วิวัฒนาการการพูด เริ่มการพูดแบบมีวิธีการและแบบแผน พ.ศ. 2470
นักพูดที่มีชื่อเสียง พระองค์เจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ พระบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ
นักพูดที่มีชื่อเสียง พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ หลวงวิจิตรวาทการ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ดร.นิพนธ์ ศศิธร ฯลฯ