บัณฑิตศึกษาสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
Advertisements

เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
การนำเทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษา
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา ยินดีต้อนรับนิสิตใหม่ ปีการศึกษา 2555
การประเมินคุณภาพสารสนเทศ
การประชาสัมพันธ์ห้องสมุด อย่างมืออาชีพ
ขอบเขตการสืบค้นข้อมูล
Work From Anywhere To University
การบริหารงานของห้องสมุด
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
ของวิชา การรู้สารสนเทศInformation Literacy
เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
การดำเนินงานด้านการบริการ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14
งานข้อมูลท้องถิ่น สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
Single Search คืออะไร ? เทคโนโลยีสืบค้นสารสนเทศรูปแบบใหม่ที่ สะดวก รวดเร็ว ลดขั้นตอนในการเข้าถึงสารสนเทศฉบับเต็ม ผู้รับบริการสืบค้นข้อมูลครั้งเดียว แต่ได้รับสารสนเทศที่ต้องการจากหลายๆ.
วิชาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
แนวทางการพัฒนางาน บริการชุมชนและส่งเสริมการใช้บริการ
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
หนังสืออ้างอิง.
สารสนเทศ : ความหมาย ความสำคัญ แหล่งสารสนเทศ
สารสนเทศ : ความหมาย ความสำคัญ แหล่งสารสนเทศ
WEB OPAC.
กิจกรรมที่ 2 ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด : ความเป็นไปได้ในการจัดการ สารสนเทศ
ระบบเช่าหนังสือ รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
หนังสืออ้างอิง (Reference Books)
Virtual Library ห้องสมุดเสมือน.
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (3)
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า บริการคืนตู้ล่วงเวลา
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า บริการคืนตู้ล่วงเวลา
ห้องสมุดคณะวิจิตรศิลป์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ห้องสมุดโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคใต้
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
..เทคโนโลยีการใช้RFIDกับงานในห้องสมุด
แผนผังบุคลากรงานบริหารงานทั่วไป
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
ความต้องการบริการสารสนเทศผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ ของผู้ใช้บริการศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี Mobile Information Services: User.
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
รูปแบบการบริการสารสนเทศ
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
การนิยามศัพท์ การทำวิจัยจะต้องมีการนิยามศัพท์ เพราะคำศัพท์มีหลายความหมาย ผู้วิจัยจำเป็นต้องนิยามคำศัพท์ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเข้าใจความหมายที่ใช้ในงานวิจัยเรื่องนี้
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
ททททททททททท. ความหมาย กระบวนการในการ ค้นหาเอกสาร หรือ สารสนเทศที่ ต้องการ โดยใช้เครื่องมือช่วยค้น รูปแบบต่างๆ การสืบค้นสารสนเทศ (Information Searching.
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บัณฑิตศึกษาสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ วิชาบริการอ้างอิงสารสนเทศ เสนอ รศ. จุมพจน์ วนิชกุล คณะผู้จัดทำ คุณรวมทิพย์ หัวใจดี คุณวิราม สุภัทรเกียรติ คุณบานเย็น อ่อนจันทร์ คุณมนต์เทพ เหลืองประพันธ์

Reference Service & Information Service รหัสวิชา 1631303 วิชา บริการอ้างอิงและสารนิเทศ เสนอ อ.จุมพจน์ Reference Service & Information Service นิยาม Reference Service การให้บริการในห้องสมหุด โดยมีบุคลากรหรือผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเป็นผู้ให้บริการต่างๆ เช่น บริการตอบคำถาม บริการสืบค้นแหล่งข้อมูล บริการยืม - คืนหนังสือ บริการแนะแนว เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงแหล่งสารนิเทศได้ถูกต้องและรวดเร็ว นิยาม Information Service เป็นการให้บริการส่วนหนึ่งในห้องสมุดซึ่งมีหลายๆรูปแบบการ ให้บริการ โดยจะเน้นให้ผู้ใช้สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง สืบค้นได้ด้วยตนเอง (ในลักษณะสามารถโต้ตอบเองได้กับแหล่งสารนิเทศ) โดยหาจากวิธีการ เครื่องมือ เทคโนโลยีที่ทันสมัยและโทรคมนาคมเพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้อย่างรวดเร็วและครบถ้วนตามความต้องการ

ข้อแตกต่างของการให้บริการ Reference Service & Information Service รหัสวิชา 1631303 วิชา บริการอ้างอิงและสารนิเทศ เสนอ อ.จุมพจน์ ข้อแตกต่างของการให้บริการ Reference Service & Information Service Reference Service Information Service 1. เน้นบุคลากรหรือ ผู้เชี่ยวชาญเป็น ผู้ให้บริการ 2. สืบค้นได้ในที่จำกัด และเวลาจำกัด 3. ข้อมูลที่ได้จะลึกซึ้งน่าเชื่อถือ 4. ผู้ให้บริการมีประสบการณ์และมี ความเชี่ยวชาญในการให้แหล่งข้อมูล 1. เน้นผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นได้ด้วยตนเอง 2. สืบค้นได้อย่างกว้างขวาง ไม่มีขอบเขต 3. ประหยัดเวลา สามารถสืบค้นได้ทุก เวลา ณ ที่ใดก็ได้ 4. สามารถโต้ตอบกับแหล่งให้บริกาได้ 5. ค่าใช้จ่ายสูงในการลงทุนครั้งแรก 6. ผู้ใช้บริการจำเป็นจะต้องมีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7. ข้อมูลที่ได้อยู่ในรูปแบบของสื่อผสม (multimedia)