วิทยนิวส์ สำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
Advertisements

GED 3801 การศึกษาและการมีส่วนร่วมในสถานศึกษา 1(60)
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
Save Smart Multi Purpose Conceptual Idea. Key to Succeed CRU ICT 2010.
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
กลุ่มบริการเทคนิค มีภารกิจหลัก 4 ภารกิจ
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
การดำเนินงานด้านการบริการ
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
โครงการโทรทัศน์ครู สร้างครูมืออาชีพ ด้วยมืออาชีพ
โครงการอ่านและบันทึกหนังสือเสียง ให้แก่ผู้พิการทางสายตา
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
คำแนะนำ และแนวทางประกอบอาชีพ หลักฐานและขั้นตอนการสอบสัมภาษณ์
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ รหัสวิชา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
การออกแบบเว็บเซอร์วิสสำหรับการจัดการบริการ ของมหาวิทยาลัย A Web Service Design for University Services Management.
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การตรวจประเมินเชิงประจักษ์ ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
แนวทางการพัฒนา e-Learning ให้ประสบผลสำเร็จด้วย รูปแบบเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถมนุษย์ Human Performance Technology Model ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (3)
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
สื่อการสอน : การทำ รายการ 2 (1) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (1)
สื่อการสอน : เว็บไซต์สำนักวิทย บริการ สถาบันราชภัฏ อุตรดิตถ์ รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศ ศาสตร์ ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ.
งานเพื่อเสริมศักยภาพทาง วิชาการของ นักศึกษาวิชาเอก บรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์ สำหรับวิชา : ความรู้เบื้องต้นทาง บรรณารักษศาสตร์ รองศาสตราจารย์ปัญญา.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
จุดมุ่งหมายของโครงการ Intel Teach to The Future
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ปัญหาที่พบจากการเบิกเงิน พ.ค.ศ
LOGO 1. Moodle (Modular Object- Oriented Dynamic Learning Environment) คือ โปรแกรมที่ ประมวลผลในเครื่องบริการ (Server-Side Script) ทำหน้าที่ให้บริการระบบ.
Information Technology : IT
โครงการบ่มเพาะ ผู้ประกอบการกองทุนตั้ง ตัวได้ต้นแบบ.
ข่าวเทคโนโลยี สารสนเทศ เรื่อง ก. ไอซีทีบุกเกาหลีดูการใช้ไอทีลด ความเหลือมล้ำการศึกษา ความเหลือมล้ำการศึกษา จัดทำโดย น. ส. ณภัทร สิงหนาท ม.4/12 เลขที่ 24.
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
ผู้อำนวยการ ..คิดอย่างไร ?
วัตถุประสงค์ : ๑. เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสาร ความเคลื่อนไหวภายในคณะศึกษาศาสตร์ แก่ คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา ๒. เพื่อเป็นสื่อกลางในการเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างคณาจารย์
ด้านคุณภาพมาตรฐาน การจัดการเรียนการสอนออนไลน์
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสามารถนำไปประยุกต์ในด้านต่างๆได้
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยนิวส์ สำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์ วิทยนิวส์ สำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์ ปีที่ 11 ฉบับพิเศษ 1 วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2546

สารสนเทศทางวิชาการ ที่สำนักวิทยบริการ จัดทำขึ้น เพื่อสถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์ โดย… รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์

ประเด็นที่จะนำเสนอ : 1. เอกสารเผยแพร่ต่อกรรมการวิชาการ 1. เอกสารเผยแพร่ต่อกรรมการวิชาการ 2. บริการของสำนักวิทยบริการ - DC LINK - E - BOOK - E - ARTICLE - E - PICTURE - E - DATABASE

3. เครือข่ายพัฒนาครู และบุคลากรทางการ ศึกษาเพื่อการปฏิรูปการเรียนรู้ (สรภ. / สำนักวิทยบริการ / คณะครุศาสตร์ / ครูทั่วประเทศ ) 4. Project การเพาะบ่มครู 8 แห่งของ กระทรวงศึกษาธิการ / สรภ. / Loxley

หน้าจอหลักของสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์ เพื่อการบริการฐานข้อมูลทางวิชาการ

หน้าจอหลักงานบริการของสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์ หน้าจอหลักงานบริการของสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์

เครือข่ายพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อการปฏิรูปการเรียนรู้ เครือข่ายพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อการปฏิรูปการเรียนรู้

E - government E - education E - Rajabhat ข้อเสนอต่อกรรมการวิชาการที่มีต่อการบริหารจัดการ ทางวิชาการของคณบดี และประธานโปรแกรมวิชา E - government E - education E - Rajabhat

E - Students E - Teachers E - Staffs E - People E - SCIENCE E - HUMAN E - EDUCATION E - Agri E - Rajabhat E - LIBRARY E - TECH E - etc. E - Students E - Teachers E - Staffs E - People

E-ARTICLES (FULLTEXT) SERVICE DATABASES E-ARTICLES (FULLTEXT) E - LIBRARY INTERESTING LINK E-SUPER LINK E-BOOKS DC LINK E- EDUCATION REFORM

ประเด็นที่ต้องการเสนอกรรมการ วิชาการ คือ : E - BOOKS ประเด็นที่ต้องการเสนอกรรมการ วิชาการ คือ : E - ARTICLES

E - BOOKS E - ARTICLES CD - ROM INTERNET VCD VIDEO

INFORMATION IS NOT POWERFUL ANYMORE KNOWLEDGE IS THE MOST POWERFUL KNOWLEDGE - BASED SOCIETY

KNOWLEDGE - BASED SOCIETY E - BOOKS E - ARTICLES KNOWLEDGE - BASED SOCIETY E - LEARNING E - TEACHERS E - STUDENTS INFORMATION ที่ซื้อมา FACULTY DEPARTMENT PROGRAM LIBRARY INTERNET E - BOOKS E - ARTICLES สร้างเนื้อหาวิชา ที่มีคุณภาพ และเหมาะสม

E - BOOKS / E - ARTICLES - สร้าง database กลางด้านเอกสารตำรา บทความทางวิชาการร่วมกันทุก โปรแกรมวิชาอยู่ในรูป Fulltext - แสดงศักยภาพทางวิชาการของอาจารย์ นักวิชาการของสถาบันร่วมกัน - ผลงานของอาจารย์ นักวิชาการถูกนำออกจากหิ้งหลังโต๊ะ หรือชั้นในห้อง สมุดสู่ระบบ Cyberspace - แสดงหลักฐานในการขอผลงานทางวิชาการ - เป็น database ของเอกสารตำราที่ได้มาจากอาจารย์ นักวิชาการของ สถาบัน เป็นความภาคภูมิใจสูงสุดของสถาบัน

- นักศึกษามีโอกาสศึกษาค้นคว้าอย่างกว้างขวาง และให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง - นักศึกษาภูมิใจที่ได้ศึกษาค้นคว้าโดยอิสระ และเป็นส่วนหนึ่งของ Student Center - การเรียนการสอนระหว่างอาจารย์ นักศึกษา จะเปลี่ยนรูปโฉม ดังเคยปฏิบัติมา - เป็นการประชาสัมพันธ์ทางวิชาการที่ดีที่สุดของสถาบันในเครือข่าย - สถาบันสามารถลงทุนเป็นจุด ไม่กระจาย ประหยัด F/S AIR / ห้อง และการดูแลจัดการระบบ - เป็นการช่วยให้คณะประสบความสำเร็จในการจัดกระบวนการสอนให้ มีคุณภาพเพิ่มขึ้น

การปฏิบัติการ - น่าจะเป็นหน้าที่ของประธานโปรแกรมวิชาในการจัดทำและติดต่อ ประสานงานกับอาจารย์ในสาขาวิชา คณะทำหน้าที่ Monitoring - สถาบันมีสิ่งตอบแทนพอสมควร - ไม่จำเป็นต้องครบทุกบทของเอกสารตำราขอให้มีบางส่วนเพื่อสถาบัน - มีแผนปฏิบัติการชัดเจน และมีผลต่อการปฏิรูปการจัดการศึกษาของ สถาบัน - สำนักวิทยบริการพร้อมสนับสนุน

ศูนย์การ เพาะบ่มครู บุคลากร ศูนย์การ เพาะบ่มครู บุคลากร โครงการของ ศธ. / สรภ. / Loxley ครู 400,000 คน เรียนรู้การใช้สารสนเทศผ่าน อินเทอร์เน็ต เพื่อประยุกต์กับการเรียนการสอน อบต. - บุคลากรในท้องถิ่น นักศึกษา - อาจารย์ - บุคลากรของสถาบัน Knowledge - Based Society

วิธีการ Loxley ลงทุน 100% ศธ. จัดคน / งบประมาณ (อบรม) - F/S - HUB - เครือข่าย - Computers - โต๊ะ - บุคลากรบางส่วน ศธ. จัดคน / งบประมาณ (อบรม) สถาบัน : สถานที่/อาจารย์และเนื้อหา/การสอน

เงินที่ได้จากโครงการ 20% สถาบันราชภัฏที่ถูกคัดเลือกเข้าโครงการ 20% Loxley 60% บริหารจัดการ และการซื้อเอกสารตำรา จากอาจารย์เพื่อเป็น E-Learning (การสร้างเนื้อหา บทเรียน) etc.

ข้อมูลจาก ผอ.สันต์ ให้ที่คำแสดรีสอร์ท จ.กาญจนบุรี (29 มกราคม 2546) ข้อมูลจาก ผอ.สันต์ ให้ที่คำแสดรีสอร์ท จ.กาญจนบุรี (29 มกราคม 2546) สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์เป็นแหล่งหนึ่งที่ถูกคัดเลือก