วิทยนิวส์ สำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์ วิทยนิวส์ สำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์ ปีที่ 11 ฉบับพิเศษ 1 วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2546
สารสนเทศทางวิชาการ ที่สำนักวิทยบริการ จัดทำขึ้น เพื่อสถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์ โดย… รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์
ประเด็นที่จะนำเสนอ : 1. เอกสารเผยแพร่ต่อกรรมการวิชาการ 1. เอกสารเผยแพร่ต่อกรรมการวิชาการ 2. บริการของสำนักวิทยบริการ - DC LINK - E - BOOK - E - ARTICLE - E - PICTURE - E - DATABASE
3. เครือข่ายพัฒนาครู และบุคลากรทางการ ศึกษาเพื่อการปฏิรูปการเรียนรู้ (สรภ. / สำนักวิทยบริการ / คณะครุศาสตร์ / ครูทั่วประเทศ ) 4. Project การเพาะบ่มครู 8 แห่งของ กระทรวงศึกษาธิการ / สรภ. / Loxley
หน้าจอหลักของสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์ เพื่อการบริการฐานข้อมูลทางวิชาการ
หน้าจอหลักงานบริการของสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์ หน้าจอหลักงานบริการของสำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์
เครือข่ายพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อการปฏิรูปการเรียนรู้ เครือข่ายพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อการปฏิรูปการเรียนรู้
E - government E - education E - Rajabhat ข้อเสนอต่อกรรมการวิชาการที่มีต่อการบริหารจัดการ ทางวิชาการของคณบดี และประธานโปรแกรมวิชา E - government E - education E - Rajabhat
E - Students E - Teachers E - Staffs E - People E - SCIENCE E - HUMAN E - EDUCATION E - Agri E - Rajabhat E - LIBRARY E - TECH E - etc. E - Students E - Teachers E - Staffs E - People
E-ARTICLES (FULLTEXT) SERVICE DATABASES E-ARTICLES (FULLTEXT) E - LIBRARY INTERESTING LINK E-SUPER LINK E-BOOKS DC LINK E- EDUCATION REFORM
ประเด็นที่ต้องการเสนอกรรมการ วิชาการ คือ : E - BOOKS ประเด็นที่ต้องการเสนอกรรมการ วิชาการ คือ : E - ARTICLES
E - BOOKS E - ARTICLES CD - ROM INTERNET VCD VIDEO
INFORMATION IS NOT POWERFUL ANYMORE KNOWLEDGE IS THE MOST POWERFUL KNOWLEDGE - BASED SOCIETY
KNOWLEDGE - BASED SOCIETY E - BOOKS E - ARTICLES KNOWLEDGE - BASED SOCIETY E - LEARNING E - TEACHERS E - STUDENTS INFORMATION ที่ซื้อมา FACULTY DEPARTMENT PROGRAM LIBRARY INTERNET E - BOOKS E - ARTICLES สร้างเนื้อหาวิชา ที่มีคุณภาพ และเหมาะสม
E - BOOKS / E - ARTICLES - สร้าง database กลางด้านเอกสารตำรา บทความทางวิชาการร่วมกันทุก โปรแกรมวิชาอยู่ในรูป Fulltext - แสดงศักยภาพทางวิชาการของอาจารย์ นักวิชาการของสถาบันร่วมกัน - ผลงานของอาจารย์ นักวิชาการถูกนำออกจากหิ้งหลังโต๊ะ หรือชั้นในห้อง สมุดสู่ระบบ Cyberspace - แสดงหลักฐานในการขอผลงานทางวิชาการ - เป็น database ของเอกสารตำราที่ได้มาจากอาจารย์ นักวิชาการของ สถาบัน เป็นความภาคภูมิใจสูงสุดของสถาบัน
- นักศึกษามีโอกาสศึกษาค้นคว้าอย่างกว้างขวาง และให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง - นักศึกษาภูมิใจที่ได้ศึกษาค้นคว้าโดยอิสระ และเป็นส่วนหนึ่งของ Student Center - การเรียนการสอนระหว่างอาจารย์ นักศึกษา จะเปลี่ยนรูปโฉม ดังเคยปฏิบัติมา - เป็นการประชาสัมพันธ์ทางวิชาการที่ดีที่สุดของสถาบันในเครือข่าย - สถาบันสามารถลงทุนเป็นจุด ไม่กระจาย ประหยัด F/S AIR / ห้อง และการดูแลจัดการระบบ - เป็นการช่วยให้คณะประสบความสำเร็จในการจัดกระบวนการสอนให้ มีคุณภาพเพิ่มขึ้น
การปฏิบัติการ - น่าจะเป็นหน้าที่ของประธานโปรแกรมวิชาในการจัดทำและติดต่อ ประสานงานกับอาจารย์ในสาขาวิชา คณะทำหน้าที่ Monitoring - สถาบันมีสิ่งตอบแทนพอสมควร - ไม่จำเป็นต้องครบทุกบทของเอกสารตำราขอให้มีบางส่วนเพื่อสถาบัน - มีแผนปฏิบัติการชัดเจน และมีผลต่อการปฏิรูปการจัดการศึกษาของ สถาบัน - สำนักวิทยบริการพร้อมสนับสนุน
ศูนย์การ เพาะบ่มครู บุคลากร ศูนย์การ เพาะบ่มครู บุคลากร โครงการของ ศธ. / สรภ. / Loxley ครู 400,000 คน เรียนรู้การใช้สารสนเทศผ่าน อินเทอร์เน็ต เพื่อประยุกต์กับการเรียนการสอน อบต. - บุคลากรในท้องถิ่น นักศึกษา - อาจารย์ - บุคลากรของสถาบัน Knowledge - Based Society
วิธีการ Loxley ลงทุน 100% ศธ. จัดคน / งบประมาณ (อบรม) - F/S - HUB - เครือข่าย - Computers - โต๊ะ - บุคลากรบางส่วน ศธ. จัดคน / งบประมาณ (อบรม) สถาบัน : สถานที่/อาจารย์และเนื้อหา/การสอน
เงินที่ได้จากโครงการ 20% สถาบันราชภัฏที่ถูกคัดเลือกเข้าโครงการ 20% Loxley 60% บริหารจัดการ และการซื้อเอกสารตำรา จากอาจารย์เพื่อเป็น E-Learning (การสร้างเนื้อหา บทเรียน) etc.
ข้อมูลจาก ผอ.สันต์ ให้ที่คำแสดรีสอร์ท จ.กาญจนบุรี (29 มกราคม 2546) ข้อมูลจาก ผอ.สันต์ ให้ที่คำแสดรีสอร์ท จ.กาญจนบุรี (29 มกราคม 2546) สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์เป็นแหล่งหนึ่งที่ถูกคัดเลือก