(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

ความสำคัญของการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ด้วยการวิจัย
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
ระบบเศรษฐกิจ.
สิ่งท้าทายพระสงฆ์ในบริบทสังคมปัจจุบัน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
โครงสร้างภาษีประเทศไทย
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
Strategic Management ผศ.กันธิชา ทองพูล.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
แนวคิด ในการดำเนินงาน
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
การบริหารจัดการท้องถิ่น
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การกระจายอำนาจสู่ อปท.
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
โดย นายคันฉัตร ตันเสถียร รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
สู่การเดินหน้าปฏิรูป วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2557 ณ โรงแรม เดอะ สุโกศล
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
สรุปการฝึกอบรม วันแรก แรงบันดาลใจ ความ คาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์ แรงงานจากวิกฤติ เศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้น จริง ประวัติศาสตร์แรงงาน ไทย วันที่สอง.
ทฤษฎีเศรษฐกิจหลายแนวทาง
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
นโยบายและการ ขับเคลื่อน วัตถุประสงค์ หลัก.
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
อนาคตเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสู่ตลาดทุน
INSPIRING THAILAND โครงการความร่วมมือเพื่อการ เปลี่ยนประเทศไทย Inspiring Thailand ประชาช น เอกชน รัฐ.
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย) การเปลี่ยนแปลงของชุมชนและ สังคมไทยที่มีผลกระทบต่อระบบราชการ พลเดช ปิ่นประทีป สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา 25 มกราคม 2554 (บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)

เทคโนโลยีสมัยใหม่ ระบบ ทุนนิยม ประชาธิปไตย ภาวะโลกร้อน ประเทศ สังคม ชุมชนท้องถิ่น ประชาธิปไตย ภาวะโลกร้อน

อุดมการณ์ทุนนิยม 6 ประการ (Core Value) มนุษย์เป็นปัจจัยการผลิต (แรงงาน) เงินทุนเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญ ให้ความสำคัญแก่ระบบตลาด(แข่งขัน) มนุษย์เป็นลูกค้า(ผู้บริโภค) ทุกสิ่งอย่างมีราคา(สินค้า) ยอมรับการเป็นเจ้าของทรัพย์สินส่วนบุคคล

ผลกระทบจากระบบทุนนิยม ค่านิยมและพฤติกรรมบริโภคนิยม ระบบเศรษฐกิจที่มุ่งกำไรสูงสุด วิถีการผลิตแบบ Mass, ผลิตเพื่อขาย, Standard, ความเชี่ยวชาญที่แยกย่อย เงินเป็นศูนย์กลาง การเก็งกำไร การเคลื่อนย้ายเงินทุนรอบโลก วิกฤตเศรษฐกิจเป็นวงจรตามธรรมชาติ

ผลกระทบจากระบบทุนนิยม ใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นต้นทุน คนเป็นทั้งปัจจัยการผลิต และเป็นตลาด คุณภาพชีวิตดีขึ้น สะดวกสบายมากขึ้น ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร เข้าถึงได้ง่ายขึ้น ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ และสังคม

ผลกระทบจากเทคโนโลยีสมัยใหม่ เปลี่ยนพฤติกรรมและความเคยชินของมนุษย์ การปฏิวัติการเกษตร การปฏิวัติอุตสาหกรรม การปฏิวัติเทคโนโลยีสื่อสาร จำนวนและโครงสร้างประชากร ประชากรยุคดิจิตอล (Digital Natives) สื่อ (Traditional & New Media)

ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน ภาวะเรือนกระจก พิบัติภัยธรรมชาติ การตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ โรคระบาด (เก่าและใหม่)

ผลกระทบจากกระแสประชาธิปไตย การปฏิเสธเผด็จการ, คณาธิปไตย สิ้นสุดยุคสงครามเย็น จากประชาธิปไตย โดยตัวแทนสู่ประชาธิปไตย แบบการมีส่วนร่วม การกระจายอำนาจ จากส่วนกลางสู่ท้องถิ่น การเพิ่มบทบาทแก่ภาคประชาสังคม การลดอำนาจรัฐ เพิ่มอำนาจประชาชน ดุลอำนาจสามเส้า การปฏิรูประบบราชการและองค์กรรัฐ

“ว่าด้วยชุมชนเข้มแข็ง และประชาสังคม”

- ชุมชนหมู่บ้าน/ชุมชนท้องถิ่น - ชุมชนหมู่บ้าน/ชุมชนท้องถิ่น - ชุมชนที่มีขอบเขตกว้าง - ชุมชนที่ไร้พรมแดน ความเป็นชุมชน ประชาคม ประชาสังคม ภาคประชาสังคม

ชุมชนเข้มแข็ง องค์กรชุมชน ผู้นำชุมชน นักพัฒนาชุมชน กระบวนการนโยบายสาธารณะ

ความเคลื่อนไหวประชาสังคมในโลกตะวันตก พัฒนาการแนวคิดประชาสังคม ยุคก่อตัวแนวคิดประชาสังคม (ก่อนศตวรรษ 18) ยุครัฐชาติสมัยใหม่ (ศตวรรษที่ 18-19) ยุคประชาสังคมร่วมสมัย (ศตวรรษที่ 20)

ความเคลื่อนไหวประชาสังคมในประเทศไทย อำนาจรัฐกับภาคประชาชนในสังคมไทย สังคมกับการตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจรัฐ - ยุคก่อน 2475 - ยุค 2475-2516 - ยุคหลัง 14 ตุลา 16

แนวคิดวัฒนธรรมชุมชนกับการเคลื่อนไหวสังคมแนวใหม่ ระยะที่ 1 ทางเลือกการพัฒนา (2520-2529) ระยะที่ 2 ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ-สังคม (2530-2539) ระยะที่ 3 อุดมการณ์ของสังคม (2540

รูปแบบการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครอง การพัฒนาและแก้ปัญหาเฉพาะหน้า การรัฐประหาร การปฏิรูป การปฏิวัติ

ขบวนการปฏิรูปสังคมไทย ปฏิรูปการเมือง (2538-2540) ปฏิรูปการศึกษา (2541-...) การกระจายอำนาจ (2542-...) ปฏิรูปสื่อ (2542-...) ปฏิรูประบบสุขภาพ (2543-2550) ปฏิรูประบบราชการ (2545-...) ปฏิรูประบบยุติธรรม (2546-...)

การปรับตัวของระบบราชการ การกระจายอำนาจ - จากส่วนกลาง, ภูมิภาค สู่ท้องถิ่น - จากส่วนราชการ สู่ชุมชน, ประชาสังคม - จากราชการสู่ธุรกิจ การลดขนาดกำลังคนภาครัฐ

การปรับตัวของระบบราชการ การเปลี่ยนรูปแบบองค์กรในการบริหารจัดการแบบใหม่ - SDU - องค์การมหาชน - รัฐวิสาหกิจ

การปรับตัวของราชการ ความเข้าใจและยอมรับสถานการณ์จริงในการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงบทบาทและสถานะความสัมพันธ์ - จากผู้ปกครองเป็นผู้ให้บริการ - จากผู้ดำเนินการ เป็น ผู้กำกับดูแล - จากผู้พัฒนา เป็น ผู้เอื้ออำนวย - จากนักปฏิบัติการ เป็น นักวิชาการ

การปรับตัวในกระแสความขัดแย้งทางสังคมการเมือง - ข้าราชการ VS นักการเมือง - ข้าราชการ VS ชุมชนและประชาสังคม - ข้าราชการ VS ท้องถิ่น - ข้าราชการ VS ธุรกิจ - ข้าราชการ VS สื่อมวลชน