งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทฤษฎีเศรษฐกิจหลายแนวทาง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทฤษฎีเศรษฐกิจหลายแนวทาง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทฤษฎีเศรษฐกิจหลายแนวทาง
ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม

2 ทฤษฎีเศรษฐกิจแบบเส้นตรง
1. ทฤษฎีมาร์กซิสม์ เชื่อว่า 1.1 โครงสร้างสังคมยืนอยู่บนพื้นฐานความสัมพันธ์การผลิต (โครงสร้างส่วนบน คือ การเมือง/ ศีลธรรม โครงสร้างส่วนล่าง คือ กรรมกร ชาวนา) 1.2 ความสัมพันธ์การผลิต สอดคล้องกับระดับ/ ลักษณะของพลังการผลิต 1.3 การพัฒนาพลังการผลิต กระทำโดยกระบวนการทางประวัติศาสตร์ 1.4 สังคมการผลิตมี 5 ขั้นตอน คือ บุพกาล ทาส ศักดินา ทุนนิยม และคอมมิวนิสต์

3 ความหมาย ก็คือ 1.ขึ้นอยู่กับกฎการพัฒนาประวัติศาสตร์สากล
2. บ่งบอกถึงความก้าวหน้า กับมุมมองทางด้านเทคนิค เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง 3. วิวัฒนาการแบบก้าวหน้าเส้นตรง

4 2. ทฤษฎีสังคมหลังอุตสาหกรรม
D. Bell แบ่งสังคมออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ 1. สังคมประเพณี ปฏิวัติเกษตรกรรมหลังยุคหินตอนปลาย 2. สังคมอุตสาหกรรม การใช้เครื่องจักร เพิ่มแรงงานการผลิต 3. สังคมหลังอุตสาหกรรม พัฒนาความรู้ ข้อมูล เทคโนโลยี

5 3. ทฤษฎีการดับสลายขององค์กรในระบบทุนนิยม
สำนัก postmodern โดย S. Lash, J. Urry อธิบายว่า 1. เปลี่ยนจากสังคมประเพณี เป็นสังคมทุนนิยมเสรี 2. เกิดบริษัทขนาดใหญ่ เป็นการกระจุกตัวของทุน 3. เกิดการปฏิเสธวิชาการด้วยเหตุผลและความเชื่อในความก้าวหน้า 4. ประกาศความสิ้นสุดของวิชาการที่เป็นเหตุผลและศิลปะ 5. สิ้นสุดอุดมการณ์ทั้งหมด และการต่อสู้ทางชนชั้น

6 4. ทฤษฎีความทันสมัย (Modernization)
G. Murdal แบ่งออกดังนี้ 1. พัฒนาการวิชาการที่มีเหตุผลและการวางแผน การเติบโตของการศึกษา 2. เน้นการเติบโตทางเศรษฐกิจ 3. การผนึกกำลังของชาติและความเป็นเอกราช 4. พัฒนาการเมืองแบบประชาธิปไตย (เพื่อปกป้องทุนนิยม) ทฤษฎีนี้ได้ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่า “เพิกเฉยต่อความเป็นเฉพาะของประเทศกำลังพัฒนา”

7 ทฤษฎีเศรษฐกิจแบบเส้นขนาน
1. รูปแบบเศรษฐกิจนอกระบบ Alexander V. Chayanov กล่าวว่า “ทุกเส้นทางชีวิตเศรษฐกิจ สามารถสร้างส่วนหนึ่งของเศรษฐศาสตร์การเมืองของตนเองขึ้นมาได้” เช่น รูปแบบองค์กรเศรษฐกิจใน “ครอบครัว” และ “ครัวเรือน”

8 2. การพัฒนา 2 เส้นทาง Model ตะวันตก : มาร์กซ์ เสนอเส้นทางเศรษฐกิจ
5 ขั้นตอน คือ บุพกาล ทาส ศักดินา ทุนนิยม และคอมมิวนิสต์ Model ตะวันออก : ไม่ปรากฏอยู่ของ “ระบบทาส” และ “ศักดินา” อย่างตะวันตก

9 3. รูปแบบการพัฒนาแบบเมทริกซ์
F. Brodel, I. Wallerstein เสนอว่า 1. เศรษฐกิจโลกใหม่ อยู่เหนือความหมายของเขตแดนประเทศ 2. เศรษฐกิจโลกมี 3 โซน คือ ศูนย์กลาง กึ่งชายขอบ และชายขอบ 3. ประวัติศาสตร์โลกเป็นเทศกาล 4. ความจริงวิถีการผลิตเป็นการเกื้อกูลกัน (เช่น ความก้าวหน้าที่สุด ขึ้นอยู่กับความอ่อนแอที่สุด)

10 ทฤษฎีเศรษฐกิจแบบวงจร
1. เศรษฐกิจรูปวงจร อธิบายว่า สังคมได้เข้าสู่การล่มสลาย และการเกิดขึ้นใหม่ เหมือนการเกิดสายพันธุ์ขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง E. Schumacher กล่าวว่า “เศรษฐกิจก้าวหน้าไม่ได้มีความหมายเดียว รูปแบบองค์กรเศรษฐกิจขนาดเล็กก็สามารถก้าวหน้าได้” ซึ่งก็คือ แนวคิด “จิ๋วแต่แจ๋ว” นั่นเอง

11 ทฤษฎีศรษฐกิจแบบคลาสสิค
1. เศรษฐกิจแบบคลาสสิค Adam Smith บิดาแห่งทฤษฎีเศรษฐกิจแบบคลาสสิค เสนอว่า “ความมั่งคั่งของชาติ คือการเคลื่อนไหวในความเป็นปัจเจก กับแรงขับเคลื่อน 2 อย่าง คือ ผลประโยชน์ กับ การแลกเปลี่ยน”

12 2. ทฤษฎีขั้นตอน Neo-Classic กล่าวว่า
“เมื่อมนุษย์เศรษฐกิจ คือนักเศรษฐศาสตร์ คุณภาพที่เคยมีศีลธรรมอยู่ก็หายไป”

13 3. ทฤษฎีสถาบันนิยมเก่า Michel, Commos, Veblen
ปฏิเสธความเป็นปัจเจก ให้ความสำคัญกับสถาบันในฐานะที่เป็นเครื่องมือในการแก้ไขความขัดแย้ง

14 “สถาบันได้แสดงออกมาเป็นกฎกติกา
4. เศรษฐกิจสถาบันใหม่ R. Cohus เสนอว่า “สถาบันได้แสดงออกมาเป็นกฎกติกา สถาบันได้ให้ความไม่แน่นอนลดลง ในโครงสร้างชีวิตประจำวัน”

15 5. ทฤษฎีการเลือกแบบมีเหตุผล (Rational Choice)
เชื่อว่า มนุษย์จะเลือกและเห็นด้วยกับความคาดหวัง ที่ได้รับรูปแบบที่ดีที่สุด บนความสอดคล้องกับ ผลประโยชน์ของตน

16 6. ทฤษฎีค่าใช้จ่ายในการบรรลุกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
Simond กล่าวว่า “มนุษย์เป็นนักฉวยโอกาส/ นักเก็งกำไร ในพฤติกรรมที่เกี่ยวกับการหลอกลวง/ ขโมย/ ปล้นชิง/ การปกปิด ข้อมูลไม่ให้รับทราบ”

17 ทฤษฎีการบรรจบกัน Grabert กล่าวว่า
“ได้เกิดการบรรจบกันในความแตกต่างของระบบอุตสาหกรรมที่ไม่ใช่สัญลักษณ์ทางอุดมการณ์” Fukuyama กล่าวว่า “เป็นการสิ้นสุดในสนามการต่อสู้ และเป็นความย่อยยับของคอมมิวนิสต์ต่อทุนนิยม”

18

19

20

21 หลักการพื้นฐานของการพัฒนาแบบยั่งยืน
ก. ค่าของสิ่งแวดล้อม

22


ดาวน์โหลด ppt ทฤษฎีเศรษฐกิจหลายแนวทาง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google