(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย) การเปลี่ยนแปลงของชุมชนและ สังคมไทยที่มีผลกระทบต่อระบบราชการ พลเดช ปิ่นประทีป สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา 25 มกราคม 2554 (บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
เทคโนโลยีสมัยใหม่ ระบบ ทุนนิยม ประชาธิปไตย ภาวะโลกร้อน ประเทศ สังคม ชุมชนท้องถิ่น ประชาธิปไตย ภาวะโลกร้อน
อุดมการณ์ทุนนิยม 6 ประการ (Core Value) มนุษย์เป็นปัจจัยการผลิต (แรงงาน) เงินทุนเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญ ให้ความสำคัญแก่ระบบตลาด(แข่งขัน) มนุษย์เป็นลูกค้า(ผู้บริโภค) ทุกสิ่งอย่างมีราคา(สินค้า) ยอมรับการเป็นเจ้าของทรัพย์สินส่วนบุคคล
ผลกระทบจากระบบทุนนิยม ค่านิยมและพฤติกรรมบริโภคนิยม ระบบเศรษฐกิจที่มุ่งกำไรสูงสุด วิถีการผลิตแบบ Mass, ผลิตเพื่อขาย, Standard, ความเชี่ยวชาญที่แยกย่อย เงินเป็นศูนย์กลาง การเก็งกำไร การเคลื่อนย้ายเงินทุนรอบโลก วิกฤตเศรษฐกิจเป็นวงจรตามธรรมชาติ
ผลกระทบจากระบบทุนนิยม ใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นต้นทุน คนเป็นทั้งปัจจัยการผลิต และเป็นตลาด คุณภาพชีวิตดีขึ้น สะดวกสบายมากขึ้น ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร เข้าถึงได้ง่ายขึ้น ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ และสังคม
ผลกระทบจากเทคโนโลยีสมัยใหม่ เปลี่ยนพฤติกรรมและความเคยชินของมนุษย์ การปฏิวัติการเกษตร การปฏิวัติอุตสาหกรรม การปฏิวัติเทคโนโลยีสื่อสาร จำนวนและโครงสร้างประชากร ประชากรยุคดิจิตอล (Digital Natives) สื่อ (Traditional & New Media)
ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน ภาวะเรือนกระจก พิบัติภัยธรรมชาติ การตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ โรคระบาด (เก่าและใหม่)
ผลกระทบจากกระแสประชาธิปไตย การปฏิเสธเผด็จการ, คณาธิปไตย สิ้นสุดยุคสงครามเย็น จากประชาธิปไตย โดยตัวแทนสู่ประชาธิปไตย แบบการมีส่วนร่วม การกระจายอำนาจ จากส่วนกลางสู่ท้องถิ่น การเพิ่มบทบาทแก่ภาคประชาสังคม การลดอำนาจรัฐ เพิ่มอำนาจประชาชน ดุลอำนาจสามเส้า การปฏิรูประบบราชการและองค์กรรัฐ
“ว่าด้วยชุมชนเข้มแข็ง และประชาสังคม”
- ชุมชนหมู่บ้าน/ชุมชนท้องถิ่น - ชุมชนหมู่บ้าน/ชุมชนท้องถิ่น - ชุมชนที่มีขอบเขตกว้าง - ชุมชนที่ไร้พรมแดน ความเป็นชุมชน ประชาคม ประชาสังคม ภาคประชาสังคม
ชุมชนเข้มแข็ง องค์กรชุมชน ผู้นำชุมชน นักพัฒนาชุมชน กระบวนการนโยบายสาธารณะ
ความเคลื่อนไหวประชาสังคมในโลกตะวันตก พัฒนาการแนวคิดประชาสังคม ยุคก่อตัวแนวคิดประชาสังคม (ก่อนศตวรรษ 18) ยุครัฐชาติสมัยใหม่ (ศตวรรษที่ 18-19) ยุคประชาสังคมร่วมสมัย (ศตวรรษที่ 20)
ความเคลื่อนไหวประชาสังคมในประเทศไทย อำนาจรัฐกับภาคประชาชนในสังคมไทย สังคมกับการตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจรัฐ - ยุคก่อน 2475 - ยุค 2475-2516 - ยุคหลัง 14 ตุลา 16
แนวคิดวัฒนธรรมชุมชนกับการเคลื่อนไหวสังคมแนวใหม่ ระยะที่ 1 ทางเลือกการพัฒนา (2520-2529) ระยะที่ 2 ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ-สังคม (2530-2539) ระยะที่ 3 อุดมการณ์ของสังคม (2540
รูปแบบการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครอง การพัฒนาและแก้ปัญหาเฉพาะหน้า การรัฐประหาร การปฏิรูป การปฏิวัติ
ขบวนการปฏิรูปสังคมไทย ปฏิรูปการเมือง (2538-2540) ปฏิรูปการศึกษา (2541-...) การกระจายอำนาจ (2542-...) ปฏิรูปสื่อ (2542-...) ปฏิรูประบบสุขภาพ (2543-2550) ปฏิรูประบบราชการ (2545-...) ปฏิรูประบบยุติธรรม (2546-...)
การปรับตัวของระบบราชการ การกระจายอำนาจ - จากส่วนกลาง, ภูมิภาค สู่ท้องถิ่น - จากส่วนราชการ สู่ชุมชน, ประชาสังคม - จากราชการสู่ธุรกิจ การลดขนาดกำลังคนภาครัฐ
การปรับตัวของระบบราชการ การเปลี่ยนรูปแบบองค์กรในการบริหารจัดการแบบใหม่ - SDU - องค์การมหาชน - รัฐวิสาหกิจ
การปรับตัวของราชการ ความเข้าใจและยอมรับสถานการณ์จริงในการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงบทบาทและสถานะความสัมพันธ์ - จากผู้ปกครองเป็นผู้ให้บริการ - จากผู้ดำเนินการ เป็น ผู้กำกับดูแล - จากผู้พัฒนา เป็น ผู้เอื้ออำนวย - จากนักปฏิบัติการ เป็น นักวิชาการ
การปรับตัวในกระแสความขัดแย้งทางสังคมการเมือง - ข้าราชการ VS นักการเมือง - ข้าราชการ VS ชุมชนและประชาสังคม - ข้าราชการ VS ท้องถิ่น - ข้าราชการ VS ธุรกิจ - ข้าราชการ VS สื่อมวลชน