การตรวจสอบการบริหารงานพัสดุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เข้าสู่เว็บไซต์ ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Procurement : e-GP) ระยะที่ 2 เข้าสู่เว็บไซต์
Advertisements

มารู้จัก e-GP กันเถอะ.
บทที่ 12 ระบบบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ถาวร
การเช่ารถยนต์ใช้ในงานราชการ
Graduate School Khon Kaen University
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
แนวทางการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ ของครุภัณฑ์และรายการก่อสร้าง
การจัดซื้อ – จัดจ้าง และสรรหาผู้รับจ้าง
นำเสนอโดย นางสาวนาตอนงค์ จันทร์แจ่มแจ้ง
ประชุมชี้แจงแนวปฏิบัติประจำปีงบประมาณ 2557
การดำเนินการจัดซื้อ/จ้าง วัสดุโครงการ
แผนปฏิบัติการจัดซื้อ/จ้าง ที่ผู้บริหารควรรู้ !!
การบริหารงานงบประมาณ
การถ่ายทอดองค์ความรู้งานพัสดุ วันที่ 21 มิถุนายน 2556 ณ ห้องบริการคอมพิวเตอร์ ชั้น 2 อาคารสารสนเทศ ตั้งแต่เวลา น. เป็นต้นไป จัดทำโดย ขั้นตอนการแจ้งซ่อม.
การประชุมผู้บริหารกรม
การเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี
คดีความรับผิดชอบในการ ค้างชำระค่าชลประทาน
แนวทางการจำหน่ายดินที่ได้จากการขุดลอก ในที่ราชพัสดุ
ร่างระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การวิเคราะห์รายการครุภัณฑ์ เป็น สินทรัพย์ หรือ ค่าใช้จ่ายอุปกรณ์
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
หนังสือเวียนเกี่ยวกับระบบ e-GP ระยะที่ 2
รายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับใบขอซื้อขอจ้าง
ศ.ดร.วินัย ประลมพ์กาญจน์ รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร 25 พฤศจิกายน 2551
การขอให้จัดหาครุภัณฑ์ / จัดจ้าง
งานพัสดุ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
นำเสนอโดย คุณสุนทรี น้อยยิ้ม เจ้าพนักงาน ธุรการชำนาญงาน นายภุชงค์ ธงสอาด นักจัดการ งานทั่วไปชำนาญการ ฝ่ายอำนวยการ “ เรื่อง แนวทางปฏิบัติของหน่วยงาน ของรัฐตามหลักเกณฑ์การเปิดเผย.
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
น.ส.เสาวลักษณ์ วิจิตรโสภา
ประชุมด้านแผนงานและงบประมาณ
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเร่งรัดติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ
การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552
การบริหารงานการเงินของสถานศึกษา
เงินรายได้สถานศึกษา หมายความว่า บรรดารายได้ที่เกิดจาก
ตัวชี้วัดที่ 6 การดำเนินการด้านพัสดุถูกต้อง เป็นระบบ ตรวจสอบได้ง่าย
ประกาศคณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการให้กู้ยืมเงินกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย.
ระเบียบพัสดุฉบับใหม่ ๒๕๕๓
การบริหารจัดการงบประมาณ ด้านที่ดิน สิ่งก่อสร้าง และครุภัณฑ์
การบริหารเวชภัณฑ์.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ
สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
ผู้อำนวยการสำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน นายสงวนศักดิ์ เกยุราพันธุ์
ระเบียบพัสดุฉบับใหม่ ๒๕๕๓
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
รายงานผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณปี 2554
สินค้าคงเหลือ.
ขั้นตอนการดำเนินการใช้จ่ายเงินรายได้
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
เงินค่าเสื่อม (A) ภาครัฐ (B) ภาคเอกชน (A1)
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
การจัดทำเอกสารเบิกจ่ายเงินวิจัย
โดยนางปิยะพร หงษ์เงิน
โครงการจัดอบรมระบบควบคุมพัสดุ หน่วยเบิก
การจำแนกประเภทรายจ่าย
แนวทางการเปิดเผยข้อมูลรายละเอียดค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างราคากลาง และการคำนวณราคากลาง ของ ป.ป.ช.
กรณีตัวอย่างการจัดซื้อจัดจ้าง
สรุปประเด็นข้อตรวจพบ
ระบบงานพัสดุ ครุภัณฑ์
กรมทางหลวงชนบท สำนักบริหารกลาง.
มติ ครม. เมื่อวันที่ 30 ธ.ค. 57 และ เมื่อวันที่ 18 ก.พ.58
แฟ้มที่รายการ 1 ผล การ พิจารณาหรือคำวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงต่อ เอกชนรวมทั้ง ความเห็นแย้งและคำสั่งที่เกี่ยวข้องในการพิจารณาวินิจฉัยดังกล่าว ( คำสั่ง อนุมัติ
การตรวจสภาพถนนไร้ฝุ่น ก่อนคืนค้ำประกันสัญญา
กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
การวิเคราะห์ ระบบจัด ซื้อจัดจ้าง มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1 ชื่อตัวชี้วัด 8 : ร้อยละของอัตราการเบิก จ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน หน่วยงานผู้กำกับ : กองคลัง เป้าหมาย : ร้อยละ 74 สถานการณ์ปัจจุบัน : ร้อยละ
Creative Accounting
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจสอบการบริหารงานพัสดุ ความหมายที่พึงรู้ การซื้อ คือ การซื้อพัสดุทุกชนิดทั้งที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการที่เกี่ยวเนื่องอื่น ๆ แต่ไม่รวมถึงการจัดหาพัสดุในลักษณะการจ้าง การจ้าง คือ การจ้างทำของ การรับขน และการจ้างเหมาบริการ (ไม่รวม การจ้างลูกจ้างของส่วนราชการ การรับขนในการเดินทางไปราชการ การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงานและการจ้างแรงงาน)

การตรวจสอบการบริหารงานพัสดุ ความหมายที่พึงรู้ (ต่อ) พัสดุ คือ วัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้างที่กำหนดไว้ในหนังสือการจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณรายจ่ายของสำนักงบประมาณ หรือการจำแนกประเภทรายจ่ายตามสัญญาเงินกู้จากต่างประเทศ วัสดุ คือ สิ่งของซึ่งโดยสภาพเมื่อใช้แล้วย่อมสิ้นเปลืองหมดไป หรือสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวรและมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน 5,000 บาท (รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตั้ง เป็นต้น) ครุภัณฑ์ คือ สิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า 5,000 บาท (รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตั้ง เป็นต้น) ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง คือ ที่ดินหรือสิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งต่าง ๆ ซึ่งติดตรึงกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง (เช่น อาคาร บ้านพัก สนามเด็กเล่น สนามกีฬา สนามบิน สระว่ายน้ำ สะพาน ถนน รั้ว บ่อน้ำ อ่างเก็บน้ำ เขื่อน เป็นต้น) ทรัพย์ คือ วัตถุมีรูปร่าง มีราคา มีมูลค่า และถือเอาได้ (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 137) ทรัพย์สิน คือ ทรัพย์และวัตถุไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้ (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 138) กรมบัญชีกลางกำหนดให้บันทึกครุภัณฑ์และวัตถุที่มีลักษณะคงทนถาวรและมีอายุการใช้งานเกินกว่า 1 ปี ซึ่งมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน 5,000 บาทในทะเบียนทรัพย์สิน และให้ยกเลิกทะเบียนครุภัณฑ์ (20 ตุลาคม 2549)

การตรวจสอบการบริหารงานพัสดุ ความหมายที่พึงรู้ (ต่อ) บัญชีคู่มือผู้ซื้อ คือ รายชื่อมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ซึ่งกระทรวงอุตสาหกรรมได้ประกาศกำหนดรายชื่อผู้ที่ได้รับอนุญาตให้แสดงเครื่องหมายมาตรฐาน รายชื่อผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการจดทะเบียน และรายชื่อผู้ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ ราคามาตรฐาน คือ ราคาครุภัณฑ์ที่สำนักงบประมาณกำหนดให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจถือปฏิบัติในการจัดซื้อครุภัณฑ์ที่มี Spec. ตามที่กำหนดในบัญชีราคามาตรฐานครุภัณฑ์ ราคากลาง คือ ราคาที่คณะกรรมการกำหนดราคากลางที่ส่วนราชการแต่งตั้งขึ้น ตามมติคณะรัฐมนตรี ปี 2544 เป็นผู้กำหนดขึ้นจากรูปแบบรายการก่อสร้างที่ได้คิดคำนวณถอดแบบรูปรายการก่อสร้าง หรือซ่อมแซม ปรับปรุง และให้กำหนดไว้ในเงื่อนไขประกวดราคาเพื่อเปิดเผยต่อผู้เสนอราคาให้ได้รับทราบทั่วกันทุกราย และใช้เฉพาะกับงานจ้างก่อสร้างที่มีวงเงินค่าก่อสร้างเกิน 100,000 บาทขึ้นไปเท่านั้น หลักประกันสัญญา คือ หลักประกันที่ผู้ขายได้ยื่นต่อส่วนราชการ เพื่อเป็นหลักประกันว่าผู้ขาย / ผู้รับจ้างจะปฏิบัติตามสัญญามีมูลค่าในอัตราร้อยละ 5 ของวงเงิน กรณีมีความสำคัญเป็นพิเศษสูงกว่าร้อยละ 5 แต่ไม่เกินร้อยละ 10 หลักประกันซอง คือ หลักประกันที่ผู้เสนอราคาได้ยื่นต่อส่วนราชการ เพื่อเป็นหลักประกันในการเสนอราคา (ใช้ในวิธีประกวดราคา)