องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ อ. รวินทร์ ไชยสิทธิพร.
ซอฟต์แวร์.
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
Chapter 1 Introduction to Information Technology
Software คือ ชุดคำสั่งหรือ ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
Software.
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (ง31102)
ความหมายของซอฟท์แวร์ (Software, Program)
Utility (โปรแกรมอรรถประโยชน์)
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
ซอฟต์แวร์.
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
Surachai Wachirahatthapong
Operating System ฉ NASA 4.
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยหลักการแล้วจะประกอบด้วย 5 ส่วน คือ องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ องค์ประกอบด้านซอฟท์แวร์ หน่วยงานหรือตัวบุคคล วิธีการปฏิบัติงาน.
บุคลากร (Peopleware) บุคลากรทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ค่อนข้างมีความจำเป็นที่ต้องมีความรู้หลากหลาย และมีความสนใจเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ เสมอ และคอยติดตามข่าวสารความเป็นไปของเทคโนโลยีทางด้านนี้
ส่วนประกอบ อุปกรณ์ และคุณสมบัติที่ดีของคอมพิวเตอร์
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
Charter 11 1 Chapter 11 ระบบปฏิบัติการ Operation System : OS.
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
Geographic Information System
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูล
ซอฟต์แวร์.
การจัดการฐานข้อมูล.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ม.4/2 โรงเรียนมัธยมวัดป่ามะไฟ
นาย กตัญญู ใจอารีย์ นาย ณัฐพงศ์ สองทอง ระบบคอมพิวเตอร์
กระบวนการทำงานและบุคลากร
ซอฟต์แวร์ที่บริหารจัดการข้อมูลแบบกระจาย
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
Software ซอฟต์แวร์.
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
นาย เกียรติศักดิ์ แสนนวล โรงเรียนจักรคำคณาทรลำพูน
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
จัดทำโดย.... นางสาววริศรา ทาวรรณ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.4/13
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
นายณัฐพล นาคะป่า เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7
ชนิดของซอฟต์แวร์ (2).
SOFTWARE.
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ Operating System
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์ Charter 3 1 Chapter 3 องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์ Software

ซอฟต์แวร์ (Software) ความหมาย Charter 3 2 ซอฟต์แวร์ (Software) ความหมาย หมายถึง ชุดคำสั่งในระบบคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User) กับเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer) ซอฟต์แวร์จะเป็นตัวสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่าง ๆ โดยจะแปลความหมายของคำสั่งของผู้ใช้เป็นคำสั่งที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ

ประเภทของซอฟต์แวร์ (Software) Charter 3 3 ประเภทของซอฟต์แวร์ (Software) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) 3. ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package)

ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) Charter 3 4 ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) หมายถึง ชุดคำสั่งที่ใช้สำหรับควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ในระบบคอมพิวเตอร์ทั้งหมด รวมทั้งยังทำหน้าที่จัดสรรทรัพยากรของระบบคอมพิวเตอร์ให้กับซอฟท์แวร์อื่น ๆ ให้เหมาะสม สามารถแบ่งออกเป็น 5 ประเภทดังนี้ 1. ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) 2. ซอฟต์แวร์จัดการอุปกรณ์ต่อพ่วง (Device Driver Software) 3. ซอฟต์แวร์การสื่อสาร (Communication Software) 4. ซอฟต์แวร์ช่วยพัฒนาโปรแกรม (Program Development Software) 5. ซอฟต์แวร์อำนวยความสะดวก (Utility Software)

ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ (Operating System) Charter 3 5 ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ (Operating System) บางครั้งเรียกว่า Supervisory Programs หรือ Monitor Programs ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานเริ่มต้นของระบบคอมพิวเตอร์ และคอยควบคุมการทำงานของระบบให้ดำเนินงานไปอย่างต่อเนื่อง โดยแบ่งการทำงานออกเป็น - ตรวจสอบดูแลและควบคุมการประมวลภายใน - จัดสรรการใช้งานทรัพยากร - ติดต่อกับอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ ** เป็นซอฟต์แวร์ที่จำเป็นต้องมีในทุกระบบคอมพิวเตอร์ **

ซอฟต์แวร์จัดการอุปกรณ์ต่อพ่วง (Device Driver Software) Charter 3 6 ซอฟต์แวร์จัดการอุปกรณ์ต่อพ่วง (Device Driver Software) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่อพ่วง เช่น จอภาพ (Monitor) , เครื่องพิมพ์ (Printer) ฯลฯ เพื่อให้อุปกรณ์ต่อพ่วงทำงานอย่างถูกต้อง โดยซอฟต์แวร์จัดการอุปกรณ์ต่อพ่วงจะถูกประแกรมระบบ (Operating System) ควบคุมอีกทีหนึ่ง ในระบบปฏิบัติการใหม่ ๆ เช่น Windows 98 , Windows 2000 เป็นต้น จะบรรจุซอฟต์แวร์จัดการอุปกรณ์ต่อพ่วงรวมไว้ด้วย

ซอฟต์แวร์การสื่อสาร (Communication Software) Charter 3 7 ซอฟต์แวร์การสื่อสาร (Communication Software) ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องหรือระบบคอมพิวเตอร์หลาย ๆ ระบบเข้าด้วยกัน ทำให้ระบบคอมพิวเตอร์เหล่านั้นสามารถสื่อสารกันได้ หรือใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ เช่น โปรแกรม Telnet , โปรแกรม Ftp เป็นต้น

ซอฟต์แวร์ช่วยพัฒนาโปรแกรม (Program Development Software) Charter 3 8 ซอฟต์แวร์ช่วยพัฒนาโปรแกรม (Program Development Software) ทำหน้าที่เป็นตัวช่วยในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (Application Programs) ขึ้นมาใช้งานเองได้ โดยจะเป็นโปรแกรมคำสั่งในระดับสูง (High Level Program) หรือในระดับกลาง (Middle Level Program) ซึ่งเรียกว่า ตัวแปลภาษา (Compiler หรือ Interpetor) โดยทำหน้าที่แปลภาษาในพัฒนาขึ้นให้เป็น ภาษาเครื่อง (Machine Code) ที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ผู้พัฒนาโปรแกรม เรียกว่า โปรแกรมเมอร์ (Programmer)

ซอฟต์แวร์อำนวยความสะดวก (Utility Software) Charter 3 9 ซอฟต์แวร์อำนวยความสะดวก (Utility Software) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์สะดวกขึ้น อำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้งานมากขึ้น

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) Charter 3 1010 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) เป็นโปรแกรมที่ถูกพัฒนาขึ้นมาใช้งานเฉพาะอย่างตามลักษณะของงานที่ต้องการ เช่น งานทางด้านวิทยาศาสตร์ , งานทางด้านธุรกิจ เป็นต้น ซึ่งในแต่ละโปรแกรมจะมีเงื่อนไขการทำงานแตกต่างกันไปตามความต้องการของผู้ใช้งาน โปรแกรมประเภทนี้ สามารถดัดแปลงแก้ไขได้ตามความต้องการ

ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package) Charter 3 1111 ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package) เป็นโปรแกรมที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในงานด้านต่าง ๆ จากผู้บริษัทผลิตโปรแกรม (Software House) ทั่ว ๆ ไป โดยผู้ใช้อื่น ๆ สามารถที่จะใช้งานโปรแกรมนี้ได้ โปรแกรมประเภทนี้มีลักษณะเป็นกลาง ครอบคลุมการทำงานหลาย ๆ อย่างไว้ด้วยกัน เช่น - การจัดการระบบฐานข้อมูล (Database) - การจัดทำรายงาน (Word Processing) - กระดาษทดอิเล็กทรอนิกส์ (Spreadsheet) - เกมส์ (Games) โปรแกรมประเภทนี้ ไม่สามารถดัดแปลงแก้ไขได้