กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
จังหวัดสุพรรณบุรี. วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ เขต มอบนโยบายการจัดทำแผน สุขภาพเขต การประชุมระดับเขต ครั้งที่ ๑ วันที่ ๑๓ – ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๕ แบ่งการ ดำเนินงานออกเป็น.
หลักการและเหตุผล แผนกลยุทธ์และแผนงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธ์ศาสตร์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ปี เป็นแผนที่จัดทำขึ้นจากการมีส่วนร่วมของคณะทำงานซึ่งเป็นผู้แทนของหน่วยงานในสังกัดกรมฯทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
1. แผนงาน PP จังหวัด ยังไม่ ตอบสนองปัญหาจริงของ จังหวัด แต่ละจังหวัดมีแผนที่ ชัดเจน และการใช้แผน แตกต่างกันมาก 2. การดำเนินงานจริง ไม่อิง ยุทธศาสตร์ /
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
การติดตามประเมินผล ปี 2552
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มที่ 1.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ข้อมูล ณ 7 พ.ค. 56 เวลา กิจกรรม ผู้เกี่ยวข้อง Output/Outcome
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ ประชุมกลุ่มย่อยสรุปผลการติดตามและประเมินผลกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ

สถานการณ์การที่ลงไปประเมินผล กระบวนการดำเนินงาน : จุดเด่น วิเคราะห์สภาพปัญหาโดยคณะกรรมการที่ประกอบด้วยตัวแทนจาก ทุกภาคส่วน มีการวางแผนยุทธศาสตร์ระดับจังหวัด โดยการบูรณาการทุกภาคส่วน มีการถ่ายทอดแผนเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติชัดเจน มีการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ระดับตำบลมากขึ้น

สถานการณ์การที่ลงไปประเมินผล กระบวนการดำเนินงาน : จุดด้อย ไม่ได้นำข้อมูลด้านอื่น เช่น ข้อมูลพฤติกรรมเสี่ยง การข้อมูลในการนำมาวิเคราะห์สภาพปัญหา ไม่ใช้ Evidence based การจัดลำดับความสำคัญ การจัดทำแผนปฏิบัติการไม่ใช้แนวคิดของแผนยุทธศาสตร์ เน้นนโยบายส่วนกลางเป็นหลัก การถ่ายทอดแผนสู่อำเภอเป็นลักษณะ Top down เป็นส่วนใหญ่ การดำเนินงานแก้ไขปัญหาไม่ต่อเนื่อง

สถานการณ์การที่ลงไปประเมินผล การบูรณาการ มีการบูรณาการ - กิจกรรมในระดับอำเภอ/ตำบลชัดเจน ขาดการบูรณาการ - กิจกรรมในระดับจังหวัด - เป้าหมาย และงบประมาณ

สถานการณ์การที่ลงไปประเมินผล ผลลัพธ์การดำเนินงาน ผลลัพธ์ไม่ชัดเจนในทุกระดับ เน้นการประเมินกระบวนการของกิจกรรมมากกว่า ยังไม่มีการประเมินมาตรการที่ใช้ในการแก้ไขปัญหา การสรุปบทเรียนจากการดำเนินงาน เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนา ปรับปรุงยังมีน้อย

ข้อเสนอแนะ จัดทำคลังข้อมูลที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ปัญหาให้เป็นปัจจุบัน และสามารถเข้าถึงได้ พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับศูนย์วิชาการเขต และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพ เพื่อใช้ในการติดตามสถานการณ์โรค NCD ควรมีกลุ่มงานที่รับผิดชอบติดตามประเมินผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย สนย. ควรเป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาศักยภาพของจังหวัดในการจัดทำแผนบูรณาการเชิงรุก กรมวิชาการที่เกี่ยวข้องควรมีการบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ แผนงานโครงการ และเป้าหมายการดำเนินงานให้ชัดเจน ศูนย์วิชาการเขตและหน่วยงานส่วนกลาง ควรมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนบูรณาการของจังหวัด

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (ต่อ) ระดับอำเภอควรพัฒนาบทบาท สสอ.ในการแปลงนโยบาย และยุทธศาสตร์ของจังหวัดสู่การปฏิบัติ พัฒนาศักยภาพทีมติดตามประเมินผลระดับเขตอย่างต่อเนื่องทุกปี ควรมีการนำข้อสรุปการนำเสนอจากการประชุม P&P มาใช้ประโยชน์ในปีถัดไป ควรกำหนดตารางเวลาที่แน่นอนในการประเมิน เพื่อทำให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ขอบคุณ