การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มีนาคม 2551
เจ้าหนี้การค้า ณ 31 มีนาคม 2551
ลูกหนี้ค่ารักษา ณ 31 มีนาคม 2551
การเปลี่ยนสภาพลูกหนี้สิทธิข้าราชการเบิก คลัง IPD,OPD/ เบิกต้นสังกัด เป็นเงินสด ปีงบประมาณ 2551
การบริหารประสิทธิภาพทรัพยากร การเงินการคลัง สภาพคล่องปีงบประมาณ 2551 ค่าปกติ = 1 ประสิทธิภาพ - ตามเกณฑ์ = 83.33% - ตกเกณฑ์ = 16.67%
ค่าปกติ = 1.5 ประสิทธิภาพ - ตามเกณฑ์ =66.67% - ตกเกณฑ์ =33.33%
ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 10 อันดับ ( ยอดผูกพันเป็นรายไตรมาส ) ปีงบประมาณ 2551
แสดงการเปรียบเทียบแหล่งรายได้การ ดำเนินการบริการทางการแพทย์ ต. ค มี. ค.51
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร สถานะการณ์ด้านการเงิน 1. สภาวะสถานการณ์ด้านการเงินการคลังมีค่า กลุ่ม 2 ระดับ 3 ( น่าจะประสบปัญหาภายใน 6 เดือน ) เนื่องจาก ทุนสำรองสุทธิเป็นบวก ส่วนต่างรายรับรายจ่ายต่อเดือนเป็น ลบ ต้องลดค่าใช้จ่าย พัฒนาภาครายรับเงินสด เร่งรัดหนี้สินเรียกเก็บ 2. I/E = 0.99 ต่ำกว่าเกณฑ์ ( ยังต้องควบคุมรายจ่าย ) 3. Profitability Ratio = 3 ( ยังสามารถทำกำไรได้ร้อยละ 3) สภาพคล่องทางการเงิน 1. ประสิทธิภาพการบริหารสภาพคล่อง 1.1 Cash Ratio = 0.65 ต่ำกว่าเกณฑ์ 1.2 QR = 1.14 ปกติ 1.3 CR = ต่ำกว่าเกณฑ์ 1.4 หนี้สิน 5,781, บาท 1.5 เงินบำรุง รพ. คงเหลือ 4,192, บาท ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรและบริหารจัดการด้านทรัพยากร 1. ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้ค่ารักษา UC 62 วัน, ตามจ่าย UC 67 วัน และ NON- UC เท่ากับ 57 วัน ( เกณฑ์ปกติ 90 วัน ) มี ประสิทธิภาพ 2. ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้เจ้าหนี้การค้า ( พัสดุทั่วไป 81 วัน, ยา / เวชภัณฑ์ 78 วัน ) อยู่ในเกณฑ์ปกติ มีประสิทธิภาพ แต่ การชำระหนี้ค่ารักษาตามจ่ายล่าช้า (206 วัน ) เนื่องจากได้รับการจัดสรรเงินงวด 2 เมื่อ 20 มี. ค. 51 และงวด 3 เมื่อ 28 มี. ค อัตราค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร : รายจ่ายดำเนินงาน อยู่ในอัตราสูง (61.25) ต้องเฝ้าระวัง ควบคุม 4. ต้นทุนบริการและต้นทุนดำเนินการด้านการรักษาพยาบาลอยู่ระหว่างการตรวจสอบ เกณฑ์มาตรฐาน 5. ทุนสำรองสุทธิและอัตราหมุนเวียนของวัสดุ / ยาเวชภัณฑ์อยู่ในเกณฑ์ดี มีประสิทธิภาพ