การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์โดยครูต้นแบบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข prachyanunn@kmitnb.ac.th http://www.prachyanun.com.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Getting Started with e-Learning
Advertisements

เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บด้วย Moodle
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน : Cyber University
สำนักวิชาการ เรื่องสืบเนื่องจากการประชุม นำ E-Training จากภายนอก ให้ครู-บุคลากร เข้าอบรม.
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
กิจการนิสิต (Student Affairs)
การอ่านและนำเสนอ เรื่องเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศึกษาโครงงานพิเศษ (Study Project) 1/2557
การทำวิทยานิพนธ์อย่างไรให้สำเร็จอย่างมีความสุข
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ยินดีต้อนรับสู่การอบรม ณ โรงเรียนสุรนารีวิทยา
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การอบรมพัฒนาระบบ Learning Managment System ด้วยโปรแกรม Moodle คณะแพทยศาสตร์ศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล วันที่ 4-5 มี.ค.2551.
ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บด้วย Moodle
ระบบการจัดการข้อร้องเรียนในห้องสมุดComplaints Management System in Library ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การพัฒนาเศรษฐกิจเทคโนโลยี
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ
แนวทางการพัฒนา e-Learning ให้ประสบผลสำเร็จด้วย รูปแบบเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถมนุษย์ Human Performance Technology Model ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต Virtual-Library and E-Learning ดร.ปรัชญนันท์
บทบาทและปัญหา เทคโนโลยีในประเทศไทย Roles and Problems of Technology in Thailand ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
แนวทางการพัฒนา e-Learning เพื่อการศึกษา ยุค e-Learning 2.0
Content Management System with Joomla
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การบริหารสำนักงานยุคใหม่
การจัดการความรู้ KMUTNB
IC เพื่อการประชาสัมพันธ์
ในห้องเรียนออนไลน์ (Web-Based Instruction) บนระบบบริการ Moodle LMS
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ระบบการสอนของดิคและคาเรย์
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
Moodle Modular Object Oriented Dynamic Learning Environment
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2557 ณ ภูเขางาม รีสอร์ท จ.นครนายก
LOGO ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข Open Source.
สุจิตรา บำรุงกาญจน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ
การพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ความพร้อมในการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่ง ของนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาเอก The e-Learning Readiness of PhD. Nursing Students ดร. เจือจันทน์ วัฒกีเจริญ มหาวิทยาลัย.
การสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำผลงานทางวิชาการ
การวัดและประเมินผล การเรียนรู้
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ADDIE Model.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ชื่องานวิจัยในชั้นเรียน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์โดยครูต้นแบบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข prachyanunn@kmitnb.ac.th http://www.prachyanun.com

เป้าหมาย ระบบอีเลินนิ่งเกษตรกรรม 3 รายวิชา ระบบอีเลินนิ่งเกษตรกรรม 3 รายวิชา ระบบอีเลินนิ่งช่างอุตสาหกรรม 3 รายวิชา ครูต้นแบบเกษตรกรรม 9 คน ครูต้นแบบช่างอุตสาหกรรม 9 คน ครูต้นแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 6 คน ข้อสอบมาตรฐานวิชาชีพ 6 วิชา คู่มืออีเลินนิ่ง 6 วิชา งานวิจัยการเรียนการสอน 7 เรื่อง (ครูต้นแบบ 6 เรื่อง คณะวิจัย 1 เรื่อง)

กรอบแนวคิดพัฒนาครูต้นแบบ (HPT) Human Performance Technology การวิเคราะห์ความสามารถ ( Performance Analysis) การวิเคราะห์เหตุผล (Cause Analysis) การเลือกวิธีผลักดัน ออกแบบและพัฒนา (Intervention Selection, Design and Development) การผลักดันนำไปใช้และการเปลี่ยนแปลง (Intervention Implementation and Change) การประเมินผลโดยรวม (Evaluation)

กรอบแนวคิดการพัฒนาการเรียนการสอน (ISD) Instructional System Design) การวิเคราะห์ (Analysis) การออกแบบ (Design) การพัฒนา (Development) การนำไปใช้ (Implementation) การประเมินผล (Evaluation)

ภารกิจครูต้นแบบ อบรมทำความเข้าใจระบบ LMS กำหนดรูปแบบรายวิชา ครูต้นแบบ 3 คน อบรมทำความเข้าใจระบบ LMS กำหนดรูปแบบรายวิชา กำหนดวัตถุประสงค์รายวิชา คำอธิบายรายวิชา กำหนดขอบเขตเนื้อหาวิชา จัดทำแบบทดสอบ ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์การเรียน

ประโยชน์ที่ครูต้นแบบจะได้รับ เกียรติบัตรครูต้นแบบ สอศ. การเป็นครูต้นแบบเป็นผลงานในระดับครูชำนาญการพิเศษและครูเชี่ยวชาญ เกียรติประวัติและการยอมรับนับถือ ระบบการเรียนการสอนผ่านเว็บวิชาที่สอน ผลงานทางวิชาการสำหรับการเสนอขอผลงาน เพื่อนใหม่และคนในวงการเดียวกัน ความท้าทายใหม่/ประสบการณ์ในระดับชาติ พฤติกรรมที่ต้องเปลี่ยนไปเพื่อรักษาเกียรติครูต้นแบบ การเรียนการสอนแบบใหม่ ๆ สำหรับลูกศิษย์

ปัจจัยนำเข้าโครงการ ครูผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ ระบบ e-Learning Moodle ครูเกษตรกรรม ครูช่างอุตสาหกรรม ครูสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ระบบ e-Learning Moodle

กระบวนการโครงการ แนวคิดการพัฒนาระบบการเรียนการสอน E-Learning ไม่สำเร็จถ้าคนทำไม่ใช่ระดับครูต้นแบบ จึงคัดเลือกครูมาเป็นต้นแบบ 6 วิชา จำนวน 18 คน ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Moodle ไม่มีประโยชน์ถ้าเนื้อหาไม่ครบวิชา ไม่ตรงวัตถุประสงค์ ครูต้นแบบจึงต้องรู้ Moodle แต่มีคนจัดทำและดูแลระบบให้ การร่วมมือ ครูต้นแบบทำงานคนเดียวไม่สำเร็จ จึงคัดเลือกมาเป็นทีม ครูต้นแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์จะดูแลเว็บและนำเนื้อหาเข้าเว็บ แนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การจัดทำ e-Learning เพื่อเด็ก คนจะเรียนรู้ได้ต้องสอนด้วยคนที่เป็นต้นแบบ

ผลผลิตของโครงการ E-Learning เกษตรกรรม วิชา การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว หลักการส่งเสริมการเกษตร หลักพืชกรรม E-Learning ช่างอุตสาหกรรม วิชา เครื่องมือวัดไฟฟ้า งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น งานเครื่องยนต์เบื้องต้น

ผลผลิตของโครงการ (2) ครูต้นแบบเกษตรกรรม 9 คน ครูต้นแบบช่างอุตสาหกรรม 9 คน ครูต้นแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 6 คน e-Learning 6 วิชา งานวิจัย 7 เล่ม ข้อสอบมาตรฐาน 6 วิชา รูปแบบการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนโดยครูต้นแบบ (Model)

ผลลัพท์ของโครงการ ระบบการเรียนการสอนผ่านเว็บช่างอุตสาหกรรม สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดสอนในภาคเรียนที่ 2/2550 เครือข่ายครูต้นแบบช่างอุตสาหกรรม สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพื่อพัฒนาการอาชีวศึกษา ครูต้นแบบช่างอุตสาหกรรม สามารถเข้าร่วมในคลัสเตอร์ช่างอุตสาหกรรม ข้อสอบมาตรฐานรายวิชาช่างอุตสาหกรรม สำหรับสำนักมาตรฐานอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สอศ. ระบบการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ระบบการศึกษาเสริมระบบการเทียบโอนหน่วยกิตและระบบเทียบโอนประสบการณ์วิชาชีพ

eLearning1

eLearning2

elearning3

elearning4

elearning5

elearning6

ระบบอาจารย์และนักเรียน

ที่ปรึกษาโครงการ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ prachyanunn@kmitnb.ac.th http://www.prachyanun.com 081-7037515