การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์โดยครูต้นแบบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข prachyanunn@kmitnb.ac.th http://www.prachyanun.com
เป้าหมาย ระบบอีเลินนิ่งเกษตรกรรม 3 รายวิชา ระบบอีเลินนิ่งเกษตรกรรม 3 รายวิชา ระบบอีเลินนิ่งช่างอุตสาหกรรม 3 รายวิชา ครูต้นแบบเกษตรกรรม 9 คน ครูต้นแบบช่างอุตสาหกรรม 9 คน ครูต้นแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 6 คน ข้อสอบมาตรฐานวิชาชีพ 6 วิชา คู่มืออีเลินนิ่ง 6 วิชา งานวิจัยการเรียนการสอน 7 เรื่อง (ครูต้นแบบ 6 เรื่อง คณะวิจัย 1 เรื่อง)
กรอบแนวคิดพัฒนาครูต้นแบบ (HPT) Human Performance Technology การวิเคราะห์ความสามารถ ( Performance Analysis) การวิเคราะห์เหตุผล (Cause Analysis) การเลือกวิธีผลักดัน ออกแบบและพัฒนา (Intervention Selection, Design and Development) การผลักดันนำไปใช้และการเปลี่ยนแปลง (Intervention Implementation and Change) การประเมินผลโดยรวม (Evaluation)
กรอบแนวคิดการพัฒนาการเรียนการสอน (ISD) Instructional System Design) การวิเคราะห์ (Analysis) การออกแบบ (Design) การพัฒนา (Development) การนำไปใช้ (Implementation) การประเมินผล (Evaluation)
ภารกิจครูต้นแบบ อบรมทำความเข้าใจระบบ LMS กำหนดรูปแบบรายวิชา ครูต้นแบบ 3 คน อบรมทำความเข้าใจระบบ LMS กำหนดรูปแบบรายวิชา กำหนดวัตถุประสงค์รายวิชา คำอธิบายรายวิชา กำหนดขอบเขตเนื้อหาวิชา จัดทำแบบทดสอบ ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์การเรียน
ประโยชน์ที่ครูต้นแบบจะได้รับ เกียรติบัตรครูต้นแบบ สอศ. การเป็นครูต้นแบบเป็นผลงานในระดับครูชำนาญการพิเศษและครูเชี่ยวชาญ เกียรติประวัติและการยอมรับนับถือ ระบบการเรียนการสอนผ่านเว็บวิชาที่สอน ผลงานทางวิชาการสำหรับการเสนอขอผลงาน เพื่อนใหม่และคนในวงการเดียวกัน ความท้าทายใหม่/ประสบการณ์ในระดับชาติ พฤติกรรมที่ต้องเปลี่ยนไปเพื่อรักษาเกียรติครูต้นแบบ การเรียนการสอนแบบใหม่ ๆ สำหรับลูกศิษย์
ปัจจัยนำเข้าโครงการ ครูผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ ระบบ e-Learning Moodle ครูเกษตรกรรม ครูช่างอุตสาหกรรม ครูสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ระบบ e-Learning Moodle
กระบวนการโครงการ แนวคิดการพัฒนาระบบการเรียนการสอน E-Learning ไม่สำเร็จถ้าคนทำไม่ใช่ระดับครูต้นแบบ จึงคัดเลือกครูมาเป็นต้นแบบ 6 วิชา จำนวน 18 คน ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Moodle ไม่มีประโยชน์ถ้าเนื้อหาไม่ครบวิชา ไม่ตรงวัตถุประสงค์ ครูต้นแบบจึงต้องรู้ Moodle แต่มีคนจัดทำและดูแลระบบให้ การร่วมมือ ครูต้นแบบทำงานคนเดียวไม่สำเร็จ จึงคัดเลือกมาเป็นทีม ครูต้นแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์จะดูแลเว็บและนำเนื้อหาเข้าเว็บ แนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การจัดทำ e-Learning เพื่อเด็ก คนจะเรียนรู้ได้ต้องสอนด้วยคนที่เป็นต้นแบบ
ผลผลิตของโครงการ E-Learning เกษตรกรรม วิชา การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว หลักการส่งเสริมการเกษตร หลักพืชกรรม E-Learning ช่างอุตสาหกรรม วิชา เครื่องมือวัดไฟฟ้า งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น งานเครื่องยนต์เบื้องต้น
ผลผลิตของโครงการ (2) ครูต้นแบบเกษตรกรรม 9 คน ครูต้นแบบช่างอุตสาหกรรม 9 คน ครูต้นแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 6 คน e-Learning 6 วิชา งานวิจัย 7 เล่ม ข้อสอบมาตรฐาน 6 วิชา รูปแบบการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนโดยครูต้นแบบ (Model)
ผลลัพท์ของโครงการ ระบบการเรียนการสอนผ่านเว็บช่างอุตสาหกรรม สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดสอนในภาคเรียนที่ 2/2550 เครือข่ายครูต้นแบบช่างอุตสาหกรรม สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพื่อพัฒนาการอาชีวศึกษา ครูต้นแบบช่างอุตสาหกรรม สามารถเข้าร่วมในคลัสเตอร์ช่างอุตสาหกรรม ข้อสอบมาตรฐานรายวิชาช่างอุตสาหกรรม สำหรับสำนักมาตรฐานอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สอศ. ระบบการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ระบบการศึกษาเสริมระบบการเทียบโอนหน่วยกิตและระบบเทียบโอนประสบการณ์วิชาชีพ
eLearning1
eLearning2
elearning3
elearning4
elearning5
elearning6
ระบบอาจารย์และนักเรียน
ที่ปรึกษาโครงการ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ prachyanunn@kmitnb.ac.th http://www.prachyanun.com 081-7037515