Learning L Organization O

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
Knowledge Management (KM)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
Technology Application
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
ทรัพยากรมนุษย์และชุมชน (Perspectives of HCRD)
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1. นางสาวฉันทนา คงแก้ว เลขที่ 9
ความสำคัญและการนำสู่การปฏิบัติ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
คำถาม กระทรวงใหม่ที่ดูแลทางด้าน IT ชื่อกระทรวงอะไร?
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
KM RID Team Work / Team Learning / AAR.
Knowledge Management (KM)
Learning Organization
LEARNING ORGANIZATION
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การศึกษาการจัดการความรู้ของบริษัท ดั๊บเบิ้ล เอ จำกัด (มหาชน)
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
การพัฒนาสายอาชีพพนักงาน
“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R”
องค์กรแห่งการเรียนรู้. ความหมาย องค์กรที่มีพนักงานทุกคนทุกระดับ พัฒนาขีด ความสามารถในการสร้างผลงานที่ดีให้กับ องค์กรด้วยใจรัก ( วรภัทร์ ภู่เจริญ, หน้า.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การพัฒนาเศรษฐกิจเทคโนโลยี
กรณีศึกษา Gotoknow.org การจัดการความรู้ด้วย Weblog
แนวทางการพัฒนา e-Learning ให้ประสบผลสำเร็จด้วย รูปแบบเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถมนุษย์ Human Performance Technology Model ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต Virtual-Library and E-Learning ดร.ปรัชญนันท์
บทบาทและปัญหา เทคโนโลยีในประเทศไทย Roles and Problems of Technology in Thailand ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพ
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
สท. กับการเรียนรู้ ภายในองค์กร โดย มยุรี ผ่อง ผุดพันธ์
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
อาจารย์ ดร.ฐิติพร ชมภูคำ กรรมการและเลขานุการหลักสูตร MBA
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
เทคนิคการจัดการความรู้ ทางอิเล็กทรอนิกส์
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
การจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีกลไกในการบริหารจัดการ สำนักอำนวยการ สป. องค์ความรู้การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ภาพลักษณ์และแนะนำองค์กร.
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ความหมายของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Learning L Organization O Prachyanun Nilsook, Ph.D. prachyanun@hotmail.com http://www.prachyanun.com ทำ kmก่อน Lo lo ไม่จำเป็นต้องทำทุกองค์กร เพราะถ้าองค์กรไหนทำอยู่ตัวแล้วไม่ต้อง เช่น บ.ยาหม่องถ้วยทอง ซึ่งยอดขายตายตัวอยู่แล้ว ไม่มีทางโตกว่านี้อีกแล้ว ทำให้องค์กรเกิดความเคลื่อนไหว องค์กรจะเจริญ ทำให้องค์กรเกิดการเรียนรู้ตลอดเวลา

Organization People Knowledge Technology We need to learn about People Learning Knowledge Technology ทำให้คนเกิดการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา Lo เป็นภาคสองต่อจาก km มีเทคโนโลยี มีมีข้อมูล แล้วสำคัญต้องมี km ,กลุ่มรถยนต์ มีการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา ซึ่งในวิกฤตขณะนี้ต้องเรียนรู้ให้มากที่สุด เพื่อรักษาองค์กรและพนักงานให้มากที่สุด เพราะหากกลับมาแล้วจะได้มีความรู้ อู่บัสที่ต่อรถบัส เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่แท้จริง หลายองค์กรที่ไม่มีการทำ km จะเกิดปัญหา

Learning Organization On the Job Training Learning on the work place Life Long Learning Knowledge Based Society 1เรียนรู้ในขณะทำงาน 2เรียนรู้ในสถานที่ทำงาน ปัญหา คือส่วนใหญ่ชอบมองที่คุณวุฒิการศึกษา 3เรียนรู้ตลอดชีวิต 4ต้องมีความรู้ทุกเรื่องในสังคม เพื่อการแข่งขัน เพราะบางครั้ง บ.ไม่ปรับตัวที่เรียนรู้เพื่อการแข่งขัน เช่น การใช้ อี-คอมเมิส

องค์กรแห่งการเรียนรู้ องค์กรเพื่อการเรียนรู้ องค์กรเอื้อการเรียนรู้ Learning Organization (LO) องค์กรแห่งการเรียนรู้ องค์กรเพื่อการเรียนรู้ องค์กรเอื้อการเรียนรู้ องค์กรการเรียนรู้ ความหมายของ LO *

องค์กรแห่งการเรียนรู้ ที่ซึ่งบุคลากรสามารถเพิ่มศักยภาพของตนให้เพิ่มพูนมากยิ่งขึ้นได้ตลอดเวลาอย่างต่อเนื่อง ที่ซึ่งมีการนำความคิดแบบใหม่ที่มีมุมมองกว้างขวางกว่าเดิมมาใช้ มาฝึกปรือ ปลูกฝังให้แก่คนของตนเพื่อขจัดความคิดที่คับแคบให้หมดไป หลักของ LO เพิ่มศักยภาพของคนอย่างต่อเนื่อง ฝึกฝน อบรม ไม่ปล่อยให้รับคำสั่งอย่างเดียว เน้นต้องทำ km มีสภากาแฟ พูดุคุยกัน

องค์กรแห่งการเรียนรู้ ที่ซึ่งทุกคนมีแรงบันดาลใจ มีอิสระ มีความสุขในการทำงาน ไม่รู้สึกว่าตนเองถูกบังคับ ทุกคนสามารถเรียนรู้วิธีที่จะเรียนรู้ด้วยกันและจากกันและกันอย่างต่อเนื่อง ต้องให้ทุกคนรู้เท่ากันหมดทั้งองค์กร เพื่อเป็นการช่วยแบ่งเบาภาระ และเร่งการผลิตได้ทัน ไม่ต้องห่วงว่าตัวเองอำนาจจะลดลง เพราะหากเงินเรายังมาก งานน้อย เราก็มีเวลาไปทำงานอย่างอื่นที่เป็นประโยชน์ *

ทำไมต้องเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (ดร. วรภัทร์ ภู่เจริญ) ทำไมต้องเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (ดร. วรภัทร์ ภู่เจริญ) ความได้เปรียบเหนือคู่แข่งอย่างถาวร เพื่อเป็นองค์กร อมตะ เจริญเติบโต และยั่งยืน พนักงานสนุกสนาน มีความสุข อยากมาทำงาน “เพลิน” (Play and Learn เท่ากับ เพลิน) ทุกคนเมื่อทำงานแล้วสนุก มีความสุข ทุกวัน อยากคิด อยากทำอะไรดีๆให้องค์กร มีความเต็มใจที่จะคิด จะเรียน ผลงานดีๆก็จะออกมา ปัญญาก็จะไหลออกมา ความรู้ก็จะเกิดขึ้น การบริหารบรรดาความรู้ต่างๆ (Knowledge) ที่เราค้นคว้ารวบรวม ที่สร้างใหม่ ค้นพบเอง ตลอดจนที่เราไปเอามา เพื่อเอาไปใช้ เก็บไว้ฝึกอบรม หรือเอาไป “ขาย” ต่อ เขาเรียกว่า การบริหารความรู้ Knowledge Management ซึ่งเป็นผลพวงของการทำ LO

Peter M. Senge Michael Marquardt David A. Gavin 1. คิดเป็น อย่างมีระบบ ครบวงจร 1. การปรับเปลี่ยนองค์กร 1. การแก้ปัญหาอย่างมี ระบบ 2. ไฟแรงใฝ่รู้ควบคู่ด้วย ศักยภาพ 2. การจัดการกับ องค์ความรู้ 2. การทดลองใช้วิธีการใหม่ๆ 3. รับรู้ภาพลักษณ์โลก รอบตัวอย่างถูกต้อง 3. การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยี 3. การเรียนรู้จาก ประสบการณ์ของตน และเรื่องในอดีต 4. สร้างวิสัยทัศน์ ร่วมกัน 4. การเพิ่มอำนาจ 4. การเรียนรู้จาก ประสบการณ์และวิธี การที่ดีที่สุดของผู้อื่น 5. เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม 5. พลวัตการเรียนรู้ 5. การถ่ายทอดความรู้ อย่างรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพ Peter M. Senge ได้รับความนิยมมากในราชการ เพราะเป็นนามธรรม Michael Marquardt ได้รับความนิยมในเอกชน David A. Gavin

Peter Senge’s Five Disciplines วินัยในการเรียนรู้ วัดผลไม่ค่อยได้เพราะเป็นนามธรรม

Organizational Transformation Technology Applications Knowledge Management People Empowerment Technology Applications Learning Dynamics Michael Marquardt ใช้ได้กับองค์การที่เข้าขั้น icu

วิสัยทัศน์ โครงสร้าง วัฒนธรรม กลยุทธ์ การปรับเปลี่ยนองค์กร วิสัยทัศน์ โครงสร้าง วัฒนธรรม กลยุทธ์

แสวงหา ถ่ายโยง สร้าง เก็บ/เรียกใช้ การจัดการกับองค์ความรู้ แสวงหา ถ่ายโยง สร้าง เก็บ/เรียกใช้ ผู้จัดการต้องมีความรู้ในการปฏิบัติต้องแสวงหา ลงมือปฏิบัติจริง

ระบบ สารสนเทศ ระบบ สนับสนุน ระบบ การเรียนรู้ ระบบ การสื่อสาร การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยี ระบบ สารสนเทศ ระบบ สนับสนุน ระบบ การเรียนรู้ ระบบ การสื่อสาร

ผู้ปฏิบัติงาน คู่แข่งขัน หุ้นส่วน ผู้นำ ลูกค้า การเพิ่มอำนาจบุคคล ผู้ปฏิบัติงาน คู่แข่งขัน หุ้นส่วน ผู้นำ ลูกค้า อำนาจอยู่ที่ผู้ปฏิบัติงานเลย

รายบุคคล ระดับสากล กลุ่ม หลากหลาย พลวัตการเรียนรู้ รายบุคคล ระดับสากล กลุ่ม หลากหลาย

กรณีศึกษา LO KM บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) : เริ่มจากเป้าหมายของธุรกิจหรือหน่วยงาน มาใช้เป็นตัวกำหนดความรู้ที่ต้องการใช้ โดยรวบรวมความรู้จากแหล่งต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร การเผยแพร่ความรู้ ได้ใช้วิธีการผสมผสาน เช่น การจัดอบรมในห้องเรียน การใช้ระบบที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยง (Coaching และ Mentor)  การเรียนรู้จาก E-learning ภายในบริษัท บริษัท ปูนซิเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) : มีการบริหารความรู้และกระตุ้นให้เรียนรู้ในลักษณะเชิงรุก และทำงานเป็นระบบโดยการสอนงานอย่างใกล้ชิดแบบตัวต่อตัว เช่น วิศวกรอาวุโสเป็นผู้ให้แนวทางการทำงาน และเป็นครูฝึกให้กับวิศวกรใหม่ เพื่อเรียนรู้ระบบการผลิต เครื่องจักร แล้วนำความรู้ที่ได้มาเขียนเป็นคู่มือปฏิบัติงานเก็บไว้ในศูนย์กลางข้อมูล ซึ่งทุกคนสามารถเข้ามาใช้โดยผ่านระบบอินทราเน็ต พนักงานที่เข้ามาใหม่ต้องมีการอบรมให้รู้หมดทุกแผนก ในลักษณะฝึกงานตามพี่เลี้ยงไปเรียนรู้

กรณีศึกษา LO KM 3M : มี Forum และ Conference ภายในสำหรับพนักงานได้มาแลกเปลี่ยนความรู้ และการค้นพบสิ่งใหม่ ๆ จนทำให้ 3M เป็นบริษัทชั้นนำ ที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นองค์กรที่มีการสร้านวัตกรรมยอดเยี่ยมของโลก Dow Chemical : ได้เก็บข้อมูลสิทธิบัตร 25,000 รายการ ไว้ในฐานข้อมูล เพื่อให้พนักงานได้นำความรู้ใหม่ ๆ มาต่อยอด จากความคิดในสิทธิบัตรเดิม Xerox จัดสร้างห้องกาแฟส่วนกลาง เพื่อให้พนักงานจากทุกฝ่ายที่ต้องการแลกเปลี่ยนความรู้ มาพบปะพูดคุยกัน ได้ตลอดเวลา 

Corporate Social Responsibility Awards (CSR) Thailand Quality Awards (TQA) E-Commerce Strategy Awards ฯลฯ

ICT for Learning Organization Blog CAI : Computer Assisted Instruction CBT : Computer Based Training WBI : Web Based Instruction WBT : Web-based Training Video on Demand Video Conference Teleconference ฯลฯ

HRD MIS TQA RBM ฯลฯ ICT Technology Management Knowledge Management Seminar in Information Management, Technology Management and Knowledge Management Information Management ICT MIS Telecommunication E-Commerce ERP CRM ฯลฯ Technology Management HRD TQA RBM ฯลฯ Knowledge Management Learning Organization

Guest Lecturer Prachyanun Nilsook, Ph.D. Ph.D. Educational and Communications Technology prachyanunn@kmitnb.ac.th http//www.prachyanun.com 081-7037515 KMITNB